Page 6 - วช
P. 6
ความรวมมือทางว�ชาการระหวางไทย - ญี่ปุน
ความรวมมือทางว�ชาการระหวางไทย - ญี่ปุน
ความรวมมือทางว�ชาการระหวางไทย - ญี่ปุน
ความรวมมือทางว�ชาการระหวางไทย - ญี่ปุน
ความรวมมือทางว�ชาการระหวางไทย - ญี่ปุน
ความรวมมือทางว�ชาการระหวางไทย - ญี่ปุน
ความรวมมือทางว�ชาการระหวางไทย - ญี่ปุน
ความรวมมือทางว�ชาการระหวางไทย - ญี่ปุน
ความรวมมือทางว�ชาการระหวางไทย - ญี่ปุน
ความรวมมือทางว�ชาการระหวางไทย - ญี่ปุน
ความรวมมือทางว�ชาการระหวางไทย - ญี่ปุน
ความรวมมือทางว�ชาการระหวางไทย - ญี่ปุน
ความรวมมือทางว�ชาการระหวางไทย - ญี่ปุน
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) (National ํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) (National
ส และเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ 2561 วช. ไดจัดกิจกรรมรวมกับ
Research Council of Thailand, NRCT) และองคการสงเสริม JSPS และ JAAT ณ โรงแรมอโนมา แกรนด กรุงเทพมหานคร
วิชาการแหงประเทศญี่ปุน (Japan Society for the Promotion of โดยกิจกรรมที่จัดประกอบไปดวย
Science, JSPS) ไดตกลงใหมีความรวมมือทางวิชาการตามโครงการ การสัมมนาวิชาการระหวางประเทศในหัวขอเรื่อง
ความรวมมือทางวิชาการระหวางไทย - ญี่ปุน นับตั้งแต ป พ.ศ. 2521 “EEC for Sustainable Life” ซึ่งการจัดสัมมนาฯ ดังกลาว
เปนตนมา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหนักวิจัยไทยและ จัดขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูในประเด็น
นักวิจัยญี่ปุนไดมีโอกาสทําการวิจัยรวมกัน ตลอดจนแลกเปลี่ยน ปญหา และขอเสนอแนะของการพัฒนาเขตระเบียงเศรษฐกิจ
ความรูและประสบการณการวิจัยในสาขาวิชาการตาง ๆ โดย ภาคตะวันออกจากฝายไทยและฝายญี่ปุน เพื่อนําไปสู
ไดเริ่มกิจกรรมทางวิชาการตาง ๆ รวมกัน ไดแก การใหทุน การพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน โดยในการสัมมนาฯ ดังกลาว
สนับสนุนการวิจัย, การจัดประชุมทางวิชาการ, การแลกเปลี่ยน ไดรับเกียรติจาก ดร.ณรงคชัย อัครเศรนี อดีตรัฐมนตรีวาการ
นักวิจัย ตลอดจนการสงเสริมสนับสนุนนักวิจัยซึ่งมีผลงานวิจัย กระทรวงพลังงาน และกระทรวงพาณิชย และปจจุบันดํารง
ที่ดี ใหมีโอกาสไดรับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยในประเทศ ตําแหนงเปนนายกสภามหาวิทยาลัยขอนแกน เปนวิทยากร
ญี่ปุน ซึ่งในป พ.ศ. 2557 ไดมีการกอตั้งสมาคมศิษยเกาเจเอสพีเอส บรรยายพิเศษในหัวขอเรื่อง “EEC and Sustainable
แหงประเทศไทย (JSPS Alumni Association of Thailand, Development” ซึ่งสรุปสาระสําคัญไดดังนี้
JAAT) ขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนศูนยรวมของศิษยเกา 1. EEC คือการยกระดับภาคอุตสาหกรรม และการ
เจเอสพีเอสในการบูรณาการความรู และแลกเปลี่ยนความ พัฒนาความเปนเมืองของประเทศ โดยมีจุดเริ่มตน
คิดเห็นทางวิชาการตาง ๆ อันจะนําไปสูการนําความรูไปพัฒนา จากการคนพบนํ้ามันในอาวไทย จึงทําใหเห็นความ
ประเทศ ซึ่งกิจกรรมทางวิชาการที่ไดรวมมือกันจัดขึ้นเพื่อ สําคัญของการที่จะพัฒนาเศรษฐกิจในบริเวณ
สรางและรักษาเครือขายนักวิจัยระหวางผูไดรับทุนจาก JSPS เขตพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก และทาเรือ
ประกอบไปดวยกิจกรรมตาง ๆ ดังนี้ แหลมฉบัง นอกจากนี้ พื้นที่ของประเทศไทยมีความ
1. การจัดสัมมนาวิชาการในหัวขอที่เปนที่นาสนใจ ไดเปรียบโดยตั้งอยูบริเวณกึ่งกลางของการขนสง
2. การจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการในหัวขอตาง ๆ จากภูมิภาคเอเชียไปยังยุโรป และสหรัฐอเมริกา
3. การประชุมประจําปของสมาคมฯ 2. EEC เปรียบเสมือนการเติบโตทางอุตสาหกรรมของ
4. พิธีมอบรางวัลแกผูสําเร็จการศึกษาจากทุนของ ประเทศ นอกจากการเตรียมความพรอมดานพื้นที่
JSPS และบุคลากรแลว การพัฒนาเทคโนโลยีก็มีสวน
5. การเผยแพรประชาสัมพันธกิจกรรมตาง ๆ ของสมาคมฯ สําคัญ เพราะเทคโนโลยีเปนสิ่งสําคัญที่ชวยรวบรวม
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
6 National Research Council of Thailand (NRCT)