Page 4 - วช
P. 4

การพัฒนาเคร�อขายตรวจสอบคุณภาพอากาศและ



             ว�เคราะหปร�มาณฝุนละอองเชิงมวล PM  และ PM                                                  10

                                                                                     2.5
               ในบรรยากาศภายในพ�้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย




                                                                                    นางสาวฐิฏาพร สุภาษี และคณะ*
                                                                                              มหาวิทยาลัยเชียงใหม
                                                              โดยเฉพาะฝุนละอองที่มีขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM )
                                                                                                              10
                                                              และ 2.5 ไมครอน (PM ) สงผลกระทบตอสุขภาพอนามัย
                                                                                  2.5
                                                              ของประชาชนภายในพื้นที่ โดยเฉพาะผูปวยในกลุมโรคระบบ
                                                              ทางเดินหายใจ ระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคผิวหนังอักเสบ
                                                              และโรคตาอักเสบ ทั้งนี้ พบประชาชนที่มีความเสี่ยงและ
                                                              ผูปวยในกลุมโรคเหลานี้เพิ่มขึ้นตลอดฤดูกาลหมอกควัน
                                                              ที่ผานมา สํานักคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ไดเล็งเห็นถึง
                                                              ความสําคัญดังกลาวจึงไดใหการสนับสนุนงบประมาณภายใต

                 สภาวะหมอกควันเปนปญหาที่เกิดขึ้นเปนประจํา แผนงานวิจัยประเทศไทยไรหมอกควัน ดวยความรวมมือ
          ทุกปในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย โดยเฉพาะชวงเดือน ของเครือขายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย (Research
          กุมภาพันธถึงมีนาคม สาเหตุสวนใหญเกิดจากการทําเกษตร University Network: RUN) ดําเนินการวิจัยแบบบูรณาการ
          แบบพึ่งพาไฟ การเผาเตรียมพื้นที่เพาะปลูก กําจัดเศษวัสดุ เพื่อจุดประสงคในการจัดการแกไขปญหาและผลกระทบจาก
          ทางการเกษตร การหาของปา ฯลฯ ทั้งที่เกิดขึ้นในประเทศและ หมอกควันที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ภาคเหนือ โดยการวิจัยได
          ละแวกใกลเคียง กอปรกับสภาพภูมิอากาศในชวงฤดูแลงและ พัฒนาระบบตรวจสอบและวิเคราะหปริมาณฝุนละอองเชิงมวล
          สภาพทางภูมิศาสตรที่เปนแองกระทะในพื้นที่ กอใหเกิดการ PM  และ PM  ในบรรยากาศ เพื่อขยายผลไปสูการพัฒนา
                                                                           10
                                                                 2.5
          สะสมของหมอกควันหรือฝุนควันในพื้นที่ นํามาซึ่งผลกระทบ เครือขายการตรวจสอบและวิเคราะหปริมาณฝุนละออง
          ทางดานสุขภาพ การทองเที่ยว เศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งทวี เชิงมวลภายในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย
          ความรุนแรงมากขึ้นทุกป อันตรายจากพิษของหมอกควัน            งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางและพัฒนาระบบ




















           รูปที่ 1 เครื่องตรวจจับฝุนละอองไรสาย DustDETEC
           รูปที่ 1 เครื่องตรวจจับฝุนละอองไรสาย DustDETEC    รู
                                                               รูปที่ 2 แผนที่แสดงสถานีตรวจวัดฝุนละอองขนาดเล็กในพื้นที่ปที่ 2 แผนที่แสดงสถานีตรวจวัดฝุนละอองขนาดเล็กในพื้นที่
           (ที่มา: ศูนยขอมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ      ภาคเหน
                                                               ภาคเหนือจํานวน 4 สถานี (ซาย) และสถานีตรวจวัดปริมาณคุณภาพือจํานวน 4 สถานี (ซาย) และสถานีตรวจวัดปริมาณคุณภาพ
           (ที่มา: ศูนยขอมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                               อากาศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ต.แมเหียะ อ. เมือง จ.เชียงใหม (ขวา)มหาวิทยาลัยเชียงใหม ต.แมเหียะ อ. เมือง จ.เชียงใหม (ขวา)
                    มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2559)                อากาศ
                มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2559)
                                                               (ที่มา: ศูนยขอมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                               (ที่มา: ศูนยขอมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                                                        มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2559)
                                                                    มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2559)
         * รองศาสตราจารย ดร.พานิช อินตะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
           รองศาสตราจารย ดร.เสริมเกียรติ จอมจันทรยอง มหาวิทยาลัยเชียงใหม
           รองศาสตราจารย ดร.เศรษฐ สัมภัตตะกุล มหาวิทยาลัยเชียงใหม
                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          4                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9