Page 6 - วช86
P. 6
“ธนาคารปูมา”
เพื่อคืนปูมาสูทะเลไทย
ระยะโซเอ
ปูมา เปนสัตวนํ้าที่นิยมบริโภคกันอยางแพรหลาย ระยะโซเอี้ย (zoea) หลังจากนั้นจะถูกปลอยลงสูธรรมชาติ ี้ย (zoea) หลังจากนั้นจะถูกปลอยลงสูธรรมชาติ
และเปนสินคาสงออกที่สําคัญของประเทศ แตในชวง 10 ป และกินอาหารที่มีอยูตามธรรมชาติจนเติบโตเปนปูมาขนาดใหญ
ที่ผานมาพบวา ผลผลิตการประมงปูมามีแนวโนมลดลง ตอไป
อยางตอเนื่อง สาเหตุมาจากการใชเครื่องมือประมง เชน
ลอบปู อวนตาถี่ขนาดเล็ก ซึ่งเปนการทําลายวงจรชีวิตของปูมา จำนวนไขของปูมา
และแหลงอาหารของปูมา สงผลใหเกิดสภาวะการประมง แมปูมาหนึ่งตัว (ขนาดกระดองกวาง 9.15 – 18.84
มากเกินกําลังผลิตจนทดแทนไมทัน (Overfishing) ในอนาคต เซนติเมตร) จะผลิตไขจํานวน 229,538 ฟอง ถึง 2,859,061 ฟอง
จากปญหาดังกลาวสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ เฉลี่ยเทากับ 998,292 ฟอง
(วช.) จึงไดสนับสนุนทุนการวิจัยภายใตโครงการ “การจัดการ
ความรูและถายทอดเทคโนโลยีจากผลงานวิจัยและนวัตกรรม วิธีจัดทำธนาคารปูมา
ประจําปงบประมาณ 2554” แกมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี การจัดทําธนาคารปูมามีหลายวิธีขึ้นกับความ
ราชมงคลศรีวิชัย ในการลงพื้นที่เพื่อทําการวิจัยและหา เหมาะสมในแตละพื้นที่ ถาเปนบริเวณที่หลบลมอาจใชกระชัง
แนวทางการจัดการทรัพยากรปูมาบนฐานภูมิปญญาทองถิ่น ขนาดใหญได หรือถามีคลื่นลมเฉพาะบางเดือนอาจใชกระชัง
ไปสูหนวยงานในพื้นที่และชุมชน ขนาดเล็ก ซึ่งจะสามารถเก็บขึ้นไดสะดวกในชวงลมมรสุมแรง
“ธนาคารปูมา” เกิดจากการประยุกตองคความรู ถาบริเวณใดมีคลื่นลมแรง แตมีสถานที่และงบประมาณ
และภูมิปญญาทองถิ่นและการวิจัย เพื่อทําใหเกิดการเพิ่ม ก็สามารถสรางโรงเรือนเล็ก ๆ ที่อยูใกลชายฝง และเพาะ
ปริมาณปูมา ทําใหชาวบานมีรายไดเพิ่มมากขึ้น และเปน แมปูมาไขนอกกระดองในถังเพาะฟก แตวิธีการที่ดีที่สุดคือ
การฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ การปลอยแมปูที่มีไขนอกกระดองคืนสูทะเลภายหลังจาก
ธนาคารปูมา หมายถึง การนําแมปูมาที่มีไขแกติด ที่จับได หากชาวประมงทุกคนรวมมือกันปลอยแมปูมาคืน
หนาทองมาฝากไวในกระชังที่อยูในทะเลหรือถังนํ้าในโรงเรือน สูทะเล หรือชวยกันจัดทําธนาคารปูมา จะทําใหชาวประมง
เมื่อแมปูมาเขี่ยไขออกจากหนาทองแลวจึงนําแมปูไปขาย มีปูมาใหจับไดตลอดไปอยางยั่งยืนแนนอน โดยมีวิธีดําเนินการ
ไขที่ถูกเขี่ยออกจากตัวแมก็จะฟกเปนตัวออนซึ่งเรียกวา ดังนี้
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
6 National Research Council of Thailand (NRCT)