Page 9 - วช86
P. 9
นวัตกรรม “เฟรชทูจอย”
เม็ดบีด ยืดอายุของผักและผลไม
ศาสตราจารย ดร.นงนุช เหมืองสิน และคณะ
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ผักและผลไมไทยเปนหนึ่งในสินคา
ที่ไดรับการยอมรับไปทั่วโลก มีตลาดสงออกที่สําคัญหลายประเทศแตปญหา
หลักของการสงออกคือ การเนาเสียระหวางการขนสงซึ่งทําใหสูญเสียมูลคา
การสงออกเปนจํานวนมาก จากปญหาดังกลาวศาสตราจารย ดร.นงนุช
เหมืองสิน แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จึงไดคิดคนผลิตภัณฑนวัตกรรม
เม็ดบีด “เฟรชทูจอย” เพื่อชวยยืดอายุของผักและผลไมผิวบาง ซึ่งสํานักงาน
คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ไดใหการสนับสนุนนําผลงานเขารวม
ประกวดในเวที Seoul International Invention Fair 2017 ณ กรุงโซล
สาธารณรัฐเกาหลี ระหวางวันที่ 30 พฤศจิกายน - 3 ธันวาคม 2561
จนสามารถควารางวัล Grand Prize ซึ่งถือเปนรางวัลสูงสุดของงานได
“เฟรชทูจอย” (Fresh 2 Joy) เปนนวัตกรรมเม็ดบีดที่ชวยยืดอายุ
ของผักผลไมผิวบางและชะลอการเนาเสีย ดวยการทํางานของเฟรชทูจอย
ซึ่งจะคอย ๆ ปลดปลอยสารออกฤทธิ์ออกมาเพื่อยับยั้งเชื้อราและเชื้อ
แบคทีเรียที่กําลังจะเกิดขึ้นในขณะทําการขนสงผักและผลไมผิวบาง
ในการทดลองไดมีการเลือกสตรอวเบอรรีซึ่งเปนผลไมผิวบาง
มาใชในการทดสอบ โดยนําเฟรชทูจอยมาทดลองใชคูกับสตรอวเบอรรี
พบวา เฟรชทูจอยสามารถยืดอายุของสตรอวเบอรรีใหคงความสดไดนานขึ้น
4 - 12 วัน นอกจากสตรอวเบอรรีแลวเฟรชทูจอยยังสามารถนําไปใชไดกับ
ผลไมหรือผักอีกหลาย ๆ ชนิด เชน บลูเบอรรี่ มัลเบอรรี่ มะเขือเทศ พริกขี้หนู
เปนตน นอกจากนี้ เฟรชทูจอยยังสามารถยับยั้งการเกิดเชื้อราและ
เชื้อแบคทีเรีย ซึ่งเปนสาเหตุของการเนาเสียของผลไมแลว เฟรชทูจอย
ยังสามารถควบคุมความชื้นภายในบรรจุภัณฑของผลไม ใหยังคงความสด
ของผลไมนั้น ๆ ไดอีกดวย ในเรื่องความปลอดภัยตอผูบริโภคนั้น เฟรชทูจอย
ทํามาจากสวนประกอบของอาหาร เชน โพลีแซ็กคาไรด และนํ้ามันหอม
ระเหยไมมีการเคลือบสารหรือสเปรยสารใด ๆ ลงบนผิวของผลไม จึงทําให
มั่นใจไดวาจะไมสงผลอันตรายตอผูบริโภค อีกทั้งเฟรชทูจอยยังเปนมิตร
ตอสิ่งแวดลอม เนื่องจากเฟรชทูจอยสามารถยอยสลายไดเอง ไมเปนพิษ
ตอสิ่งแวดลอม สําหรับวิธีการใชเฟรชทูจอยนั้น ไมยุงยากและซับซอน เพียง
แคนําผลิตภัณฑเฟรชทูจอยบรรจุลงในบรรจุภัณฑของผลไม โดยเฟรชทูจอย
หนึ่งซองจะสามารถใชไดกับสตรอวเบอรรีนํ้าหนัก 500 กรัม ทําใหสามารถ
ยืดความสดของผักและผลไมไดนานขึ้น
ผูสนใจขอมูลเพิ่มเติมสามารถสอบถามไดที่ : นางสาวชไมพร
ศุภเชษฐพันธ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โทรศัพท : 085 1859 667 Email :
chamai190134@gmail.com หรือ up_urarika@hotmail.com
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 9