Page 7 - วช86
P. 7

1. รูปแบบกระชังที่ยึดไวในทะเล

                 นําแมปูมาไขนอกกระดองมาพักไวในกระชังที่ยึดไว
          ในทะเล เมื่อแมปูเขี่ยไขหมดแลว ก็จะถูกนําไปขาย สวนตัวออน
          ลูกปูก็จะเติบโตเองตามธรรมชาติ  การใชกระชังจะมี
          หลายขนาดทั้งขนาดเล็ก และขนาดใหญขึ้นอยูกับความ
          เหมาะสมในแตละสถานที่  รูปแบบนี้ทํากันมากเพราะ
          ใชงบประมาณและการดูแลคอนขางนอย
          2. รูปแบบโรงเรือนในหมูบานชาวประมง
                 นําแมปูมาไขนอกกระดองมาพักไวในโรงเพาะฟก
          ในหมูบานชาวประมงซึ่งอยูใกลชายฝงทะเลเมื่อแมปูเขี่ยไข

          หมดแลวก็จะถูกนําไปขาย สวนตัวออนก็จะถูกปลอยสูธรรมชาติ
          3. การนําแมปูมาไขนอกกระดองมาทําสัญลักษณแลวปลอย
            คืนสูทะเล
                 วิธีการอนุรักษแมพันธุปูมาไขนอกกระดองอีกวิธีหนึ่ง
          คือ การนําแมปูมาไขนอกกระดองมาทําสัญลักษณ โดยการใช
          ปากกา กากบาท หรือเขียนชื่อผูปลอย เพื่อเปนเครื่องหมายวา
          เปนปูมาที่ตองการอนุรักษ หามจับ และจําหนาย สัญลักษณ

          บนกระดองปูมาไขนอกกระดองจะคงอยู เพราะปูในระยะนี้
          จะไมลอกคราบจนกวาจะเขี่ยไขหมด โดยปูมาที่เขี่ยไขหมด
          และใชสเปรมในถุงที่เก็บไวหมดแลวก็จะลอกคราบอีกครั้ง
          กระดองที่มีเครื่องหมายก็จะหลุดไป ชาวประมงสามารถ
          ทําการประมงไดอีกครั้ง วิธีนี้เปนการปลุกจิตสํานึกวา ถาใคร
          จับปูมาที่มีเครื่องหมายไดก็ควรปลอยคืนสูทะเล เพื่อเปนการ     2.  ควรปลอยลูกปูหลังจากแมปูเขี่ยไขและฟก
          เพิ่มลูกพันธุปูมาในธรรมชาติ                       หมดแลว เพราะหากขังลูกปูไวนาน ปริมาณแอมโมเนียจะ
          4. การเพาะพันธุลูกปูมาจากจับปง                  สูงขึ้น อาจมีผลตออัตราการรอดของลูกปู
                 การเพาะจากจับปงเหมาะสมกับสถานที่ที่มีโรงตม       3.  ความเค็มนํ้าทะเลในบริเวณที่จะปลอยตัวออน

          และมีการแกะเนื้อปูมา หรือในกรณีที่แมปูมาไขนอกกระดอง  ควรใกลเคียงกับนํ้าในถังฟก
          ตายในระหวางลําเลียง เมื่อไดจับปงปูมาแลว สามารถนํามา     4.  ควรใชความเค็มนํ้าประมาณ 27 – 35 สวนใน
          เพาะฟกตามวิธีของวารินทร และคณะ (2545) โดยนําจับปง  พันสวน เนื่องจากความเค็มนํ้ามีผลตออัตราการฟกของลูกปู
          ใสในกะละมังพลาสติกที่มีนํ้าทะเลสะอาด แยกไขออกจาก
          จับปงโดยใชมือถูเบา ๆ ในนํ้า จากนั้นกรองเอาสิ่งสกปรก        ทั้งในรูปแบบโรงเรือนและกระชัง
          และไขที่จับเปนกอนออก ลางดวยนํ้าทะเลสะอาด 3 – 4 ครั้ง      ควรใชความระมัดระวังในการลําเลียงแมปูไขนอก
          แลวนําไปบมฟก พรอมกับใหอากาศคอนขางแรง เมื่อตัวออน  กระดองกอนนําเขาธนาคารปู เพราะถาไขนอกกระดองบอบชํ้า

          ลูกปูฟกแลว ก็จะถูกปลอยสูธรรมชาติ                และแมปูเกิดความเครียดจะทําใหไขมีอัตราการฟกตํ่า


             ขอควรระวังในการทำธนาคารปูมา                        ผลที่ไดจากการทำธนาคารปูมา
                    ในรูปแบบโรงเรือน                                 ทําใหจํานวนประชากรปูมาเพิ่มปริมาณมากขึ้นกวา
                 1.  ไมควรปลอยลูกปูในชวงเวลาที่มีแดดจัด เพราะ  ในอดีตที่ผานมา สงผลใหเกิดการสรางรายไดใหแกครัวเรือน
          อุณหภูมินํ้าในถังฟกกับบริเวณที่ปลอยอาจมีความแตกตางกัน   และชุมชนเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งการประกอบอาชีพมีความมั่นคง
          ลูกปูอาจตายในชวงที่ปลอยได                        มากยิ่งขึ้น




          * สรุปจากเอกสารเผยแพร “คูมือธนาคารปูมา” โดย กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล กรมประมง จัดพิมพ และเผยแพรโดย
            สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ภายใตโครงการขยายผลธนาคารปูมาเพื่อ “คืนปูมาสูทะเลไทย”ตามมติคณะรัฐมนตรี


         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12