Page 4 -
P. 4

งานวิจัยเพ� อประชาชน



           การพัฒนาผลิตภัณฑหัตถกรรมจากเสนใยกลวยเพื่อสรางมูลคาเพิ่ม
           การพัฒนาผลิตภัณฑหัตถกรรมจากเสนใยกลวยเพื่อสรางมูลคาเพิ่ม
           การพัฒนาผลิตภัณฑหัตถกรรมจากเสนใยกลวยเพื่อสรางมูลคาเพิ่ม

                                                                             รองศาสตราจารยเอนก  ชิตเกษร และคณะ
                                                                                                มหาวิทยาลัยพายัพ


                  การนํา “เสนใยกลวย” มาใชประโยชนเปนอีกหนึ่งทาง  เทคโนโลยีและกระบวนการผลิตเสนใยกลวย
           เลือกของการใชทรัพยากรอยางคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด      เลือกตนกลวยขนาดลําตนที่พอเหมาะ เลือก
           ในแตละทองถิ่น การใชภูมิปญญาทองถิ่นรวมกับการเพิ่ม   1   กาบกลวยชั้นที่ 4 - 8 เทานั้น และตัดกาบกลวย
           ศักยภาพจากการสงเสริมเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ        ใหไดความยาวตามที่ตองการ
           หัตถกรรม โดยการนําเสนใยกลวยมาผลิตเปนงานดาน               นํามาวางบนพื้นเรียบหรือบนโตะใชมีดหรือชอน

           หัตถกรรมเครื่องใชตาง ๆ สามารถเพิ่มเอกลักษณและจุดเดน  2   ขูดเยื่อสีขาวดานในออกจนหมด ใหเหลือแตผิวหนา
           ของผลิตภัณฑไดเปนอยางมาก เนื่องจากเสนใยกลวยมี     ที่มีสีเขียวออน
           คุณสมบัติที่มีความคงทนเทียบเทากับเสนไหม เบาสบาย มันเงา     ผึ่งลมใหหมาด ฉีกกาบกลวยใหเปนเสนใยดวย

           เปนการสรางมูลคาเพิ่มใหกับเสนใยกลวย และสรางความ    3   เครื่องฉีก (เครื่องฉีกที่สรางขึ้นโดยภูมิปญญา
           หลากหลายใหกับสินคาหัตถกรรมในทองตลาด อันสงผลให     ชาวบาน) มีลักษณะเหมือนหวีทําขึ้นจากเข็ม งายตอ
           เกิดการสรางรายไดเพิ่มใหกับครัวเรือน ชุมชน และทองถิ่น
                                                                  การผลิตเสนใย ขนาดเสนใยจะเทากัน ไมแตกเปนขุย

                                                                        นําเสนใยที่ไดไปลางในนํ้าสะอาดและผึ่งแดด
                 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ในฐานะ      4
          สํานักงานเลขานุการรวมของสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแหงชาติ    เพื่อเตรียมการนําไปยอมสี ซึ่งจะเปนกระบวนการ
          (สวนช.) ไดเห็นประโยชนของการพัฒนาผลิตภัณฑหัตถกรรม     ขั้นตอไป

          จากเสนใยกลวยเพื่อสรางมูลคาเพิ่มใหกับชุมชน จึงไดสนับสนุน
          ทุนในการทํากิจกรรมสงเสริมงานวิจัยโครงการ “Research for
          Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม” ในปงบประมาณ 2560
          เรื่อง “การถายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑหัตถกรรม
          จากเสนใยกลวยเพื่อสรางมูลคาเพิ่ม และกลยุทธการจัดการ

          ผลิตภัณฑในจังหวัดภาคเหนือ” แก รองศาสตราจารยเอนก ชิตเกษร
          และรองศาสตราจารยพรรณนุช  ชัยปนชนะ  และคณะ
          แหงมหาวิทยาลัยพายัพ เพื่อถายทอดกระบวนการผลิตผาทอ

          จากเสนใยกลวยยอมสีธรรมชาติดวยกี่กระทบ และการแปรรูป
          ผลิตภัณฑเพื่อสรางมูลคาเพิ่มจากผาทอใยกลวย รวมทั้งการ
          กําหนดกลยุทธการจัดการผลิตภัณฑโดยการมีสวนรวมของชุมชน
          ทั้งนี้เพื่อใหชุมชนเห็นคุณคาของการใชภูมิปญญาทองถิ่นและการ
          ประยุกตใชประโยชนจากวัสดุธรรมชาติ จากเสนใยกลวยที่ไดจาก

          กาบตนกลวย นอกเหนือจากการใชประโยชนจากผลและใบกลวย
          โดยเปนการใชประโยชนจากสวนของลําตนกลวยซึ่งแทบจะไมมี
          มูลคามาพัฒนาใหเปนงานหัตถกรรมสามารถสรางรายไดเพิ่มได

          อีกชองทางหนึ่ง โดยกระตุนใหชุมชนเห็นคุณคาการใชภูมิปญญา
          พื้นบาน โดยคณะนักวิจัยไดศึกษาวิจัยกระบวนการถายทอด
          เทคโนโลยีการผลิตผลิตภัณฑหัตถกรรมจากเสนใยกลวย และได        เครื่องฉีกเสนใยกลวยโดยภูมิปญญาชาวบาน
          ปรับปรุงวัสดุอุปกรณใหมีความเหมาะสมตามบริบทของพื้นที่ใน
          จังหวัดลําพูน พะเยา แพร นาน และกําแพงเพชร


                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          4                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9