Page 5 -
P. 5

กระบวนการยอมสีเสนใยกลวยดวยสียอมธรรมชาติ           ประโยชนที่ไดรับจากงานวิจัย
                เตรียมวัตถุดิบสียอมจากธรรมชาติที่หาไดภายใน            เปนการเพิ่มคุณคาของทรัพยากรในพื้นที่ใหเกิด
             1                                                      1
                ทองถิ่น  เชน  เมล็ดคําแสด  (คําเงาะ)  ใหสีแสด        ประโยชน และลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ซึ่ง
           ใบตะเคียนหนู  (ใบเหว)  ใหสีเขียวเหลือง  แกนขนุนให   จะชวยลดมลพิษใหเกิดนอยที่สุด
           สีเหลือง  เปลือกประดูใหสีแดง  ดอกอัญชันใหสีนํ้าเงิน       การใชประโยชนในเชิงสาธารณะ งานวิจัยสราง

           และดอกกระเจี๊ยบแดงใหสีมวงแดง                           2   องคความรูแกสาธารณชนในเรื่ององคความรู
                ตมนํ้าใหเดือด และนําวัสดุ                       ดานการทอผาใยกลวยยอมสีธรรมชาติ และการจัดการ
             2
                ใหสีลงไปตมจนกวาจะไดสี                         สําหรับวิสาหกิจ (SME) กลุมทอผาที่เขารวมโครงการ
           ที่ตองการ นําใยกลวยลงไปตมจนสี                       สามารถกําหนดกลยุทธการจัดการผลิตภัณฑ การ

           ติดดีแลวจึงนําไปลางในนํ้าสะอาด                       คํานวณตนทุน การตั้งราคา และการกําหนดกลยุทธ
           (เราสามารถกระตุนใหเกิดสีอื่น ๆ ได                   ทางการตลาดที่มีประสิทธิภาพสามารถนําเสนอสินคา
           โดยการนําไปจุมในนํ้าปูนใส นํ้าละลาย                   ไปยังกลุมเปาหมาย และสรางรายไดใหแกกลุม โดยมี

           สนิมเหล็ก และนํ้าละลายสารสม)                          การจัดทําเปนคูมือ เพื่อใหงายตอการเขาใจดวยวิดีโอ
           นําไปผึ่งใหแหง เพื่อนําเขาสูกระบวนการ              ขั้นตอนการยอมสีผาธรรมชาติเผยแพรในเว็บไซต
           การผลิตตอไป                                           http://bananatextile.com/index.php
                        เสนใยกลวยที่ไดรับการยอมสียอมธรรมชาติแลว   การใชประโยชนในเชิงพาณิชย งานวิจัยนําไป
                                                                    3
                                                                        สูการพัฒนาผลิตภัณฑซึ่งกอใหเกิดรายได โดย
                                                                  ชุมชนสามารถนําวัสดุหรือวัตถุดิบที่มีในทองถิ่นมาใช
                                                                  ใหเกิดประโยชน และใชสียอมจากธรรมชาติ โดยการ

                                                                  พัฒนายกระดับผลิตภัณฑในรูปแบบตาง ๆ เชน กระเปาถือ
                                                                  สุภาพสตรีหลากหลายขนาด นําไปสูเศรษฐกิจชุมชนที่ดีขึ้น
                                                                  ชุมชนมีโอกาสไดรับการคัดเลือกเปนแหลงทองเที่ยว
                                                                  ตนแบบ สงเสริมรายไดและเศรษฐกิจในชุมชนใหเพิ่ม

                                                                  มากยิ่งขึ้น สรางรายไดและสรางโอกาสทางการตลาด
                                                                  และชองทางในการจัดจําหนายของงานหัตถกรรม
                                                                  เพื่อจําหนายใหกับผูบริโภคทั้งในและนอกชุมชน

           กระบวนการทอเสนใยกลวย

                  ในกระบวนการนี้ เราจะใชเสนใยในการทอเปนเสนใย
           2 ชนิด การปรับเพิ่มความถี่ของฟมทอผาเพื่อใหเสนยืน
           มีความถี่ โดยใชการวางเสนยืน (ใชเสนใยฝาย) สวนเสนนอนหรือ

                                   เสนพุง (ใชเสนใยกลวย) กอนนํา
                                   เสนใยกลวยมาทําการทอ
                                   ควรพรมนํ้าเตรียมไวเพื่อความนุม
                                   และงายตอการทอ การสราง
                                   ลวดลายตาง ๆ นั้นขึ้นอยูกับ

                                   ผูทอและ อัตลักษณของทองถิ่น  ผูสนใจสามารถสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ :
                                   ดวย  ซึ่งผูทอสามารถสราง     รองศาสตราจารยเอนก ชิตเกษร มหาวิทยาลัยพายัพ
                                   ลวดลายใหม ๆ ไดตามความ        วิทยาเขตแมคาว ถนนซุปเปอรไฮเวยเชียงใหม - ลําปาง

                                   ตองการ เพื่อนําไปผลิตเปน     อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50000
                                   ผลิตภัณฑหัตถกรรมตอไป         โทรศัพท : 0 5385 1478 - 86 ตอ 7201


         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10