Page 8 -
P. 8

รอบรูงานวิจัย



          การประชุม HOPE MEETING ครั้งที่ 11






                 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) และองคการสงเสริมวิชาการ
          แหงประเทศญี่ปุน (JSPS) ไดมีขอตกลงใหมีความรวมมือทางวิชาการภายใตโครงการความรวมมือ

          ทางวิชาการระหวางไทย – ญี่ปุน นับตั้งแตป พ.ศ. 2521 เปนตนมา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหนักวิจัยไทยและ
          นักวิจัยญี่ปุนไดมีโอกาสทําการวิจัยรวมกันตลอดจนแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณทางการวิจัยในสาขาวิชาการตาง ๆ
          ซึ่งนับวาเปนการเพิ่มโอกาสในการเรียนรูและพัฒนาศักยภาพของนักวิจัยไทย ซึ่งในชวงเวลา 30 ป ที่ผานมานั้น มีความ
          กาวหนาไปอยางรวดเร็วทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในภูมิภาคเอเชีย การยกระดับของนักวิจัยและความรวมมือ

          ระหวางประเทศทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในภูมิภาคเดียวกันและกับภูมิภาคอื่นนั้น เริ่มปรากฏใหเห็นชัดเจน การ
          ขับเคลื่อนใหรุดหนาไปในแนวทางนี้จะนําไปสูการสรางประชาคมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงเอเชีย ซึ่งตองอาศัยการสราง
          เครือขายอันเขมแข็งระหวางประเทศในภูมิภาค JSPS จึงไดริเริ่มการจัดการประชุม HOPE Meeting ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค
          เพื่อขับเคลื่อนความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟก ซึ่งจะสงผลสําคัญในการสงเสริม

            ความสามารถของนักวิจัยรุนเยาว ใหมีทรรศนะที่เปดกวาง และสามารถพัฒนาความสามารถทางการวิจัยในระดับสูงได
                        ตลอดจนเปนการสงเสริมและเปดโอกาสใหแกบัณฑิตศึกษาในภูมิภาคในการสรางเครือขาย และไดแลกเปลี่ยน
                                   ความรูกับผูที่ไดรับรางวัลโนเบลและนักวิทยาศาสตรชั้นนําจากทั่วโลก




                 วช. เปนหนวยงานหลักของไทยในการเสนอชื่อนักศึกษาระดับปริญญาเอก และหรือนักวิจัยรุนเยาว  (ที่จบการศึกษา
          ระดับปริญญาเอกไมเกิน 5 ป ภายในวันที่ 1 เมษายน 2561) ที่มีผลงานที่ประสบความสําเร็จโดดเดนในการทําวิจัย ตลอดจน
          ใหความสนใจเรื่องผลกระทบตอสังคมที่เกิดจากการใชความรูทางวิทยาศาสตร จํานวน 4 ราย เพื่อเปนผูแทนประเทศไทยเขารวม
          การประชุม HOPE Meeting ครั้งที่ 11 ระหวางวันที่ 4 – 8 มีนาคม 2562 ณ เมืองโอกินาวา ประเทศญี่ปุน โดยมีหัวขอเรื่อง

          ในการประชุมฯ ในสาขาตาง ๆ ไดแก สาขาฟสิกส เคมี สรีรวิทยา/แพทยศาสตร และสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งเปนการบรรยาย
          โดยผูที่ไดรับรางวัลโนเบล และนักวิจัยผูมีชื่อเสียง ไดแก
                 •  Prof. Takaaki Kajita  (ผูไดรับรางวัลโนเบล สาขาฟสิกส ป 2015)

                 •  Prof. Hiroshi Amano (ผูไดรับรางวัลโนเบล สาขาฟสิกส ป 2014)
                 • Prof. Hiroshi Amano (ผูไดรับรางวัลโนเบล สาขาฟสิกส ป 2014)
                 •  Prof. Aaron Ciechanover (ผูไดรับรางวัลโนเบล สาขาเคมี ป 2004)
                 • Prof. Aaron Ciechanover (ผูไดรับรางวัลโนเบล สาขาเคมี ป 2004)
                 •  Prof. Martin Chalfie (ผูไดรับรางวัลโนเบล สาขาเคมี ป 2008)
                 • Prof. Martin Chalfie (ผูไดรับรางวัลโนเบล สาขาเคมี ป 2008)
                 • Prof. Ada Yonath (ผูไดรับรางวัลโนเบล สาขาเคมี ป 2009)
                 •  Prof. Ada Yonath (ผูไดรับรางวัลโนเบล สาขาเคมี ป 2009)
                 •  Prof. Bernard L. Feringa (ผูไดรับรางวัลโนเบล สาขาเคมี ป 2016)
                 • Prof. Bernard L. Feringa (ผูไดรับรางวัลโนเบล สาขาเคมี ป 2016)
                 • Prof. Tim Hunt (ผูไดรับรางวัลโนเบล สาขาสรีรวิทยา หรือแพทยศาสตร ป 2001)
                 •  Prof. Tim Hunt (ผูไดรับรางวัลโนเบล สาขาสรีรวิทยา หรือแพทยศาสตร ป 2001)
                 •  Prof. Gunnar Öquist Umeå University, Former Secretary General,
                 • Prof. Gunnar Öquist Umeå University, Former Secretary General,
                   The Royal Swedish Academy of Sciences


















                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13