Page 7 -
P. 7

การดําเนินงานวิจัย                                   ประโยชนที่ไดรับจากงานวิจัย

                                                                       เครื่องผลิตเสนใยนาโนดวยไฟฟาสถิตสามารถนํา
             1   ผูวิจัยไดทําการสรางเครื่องผลิตเสนใยนาโนดวย  ไปใชประโยชนไดทั้งในหนวยงานภาครัฐที่ดําเนินงานวิจัย
                 ไฟฟาสถิตใหมีคุณภาพดีขึ้น และทําการผลิต

           เครื่องตนแบบเครื่องผลิตเสนใยนาโนแบบไรหัวเข็ม รวมถึง  สรางองคความรูและตอยอดองคความรู นําไปสูการเรียน
           การผลิตเครื่องตนแบบเครื่องผลิตเสนใยนาโนดวย        การสอนและการทดลองปฏิบัติ เชน คณะวิศวกรรมศาสตร
           ไฟฟาสถิตแบบเข็มแนวดิ่ง                              คณะวิทยาศาสตร คณะเทคนิคการแพทย แมกระทั่งคณะ

             2   โดยการสรางรางเลื่อนใหม โดยทํากลองสวมใส     ที่มีการดําเนินการวิจัยดานพืช จุลชีววิทยา เปนตน และได
                 อิเล็กทรอนิกส เพื่อไมใหฝุนหรือเสนใยนาโนไปเกาะ
                                                                ผลิตรูปแบบผลิตภัณฑที่มีความหลากหลายใหแกผูที่สนใจ
           และสรางฉากรับลูกกลิ้งขึ้นมาใหม แตสามารถปรับเปลี่ยน  ในภาคอุตสาหกรรมและในงานวิจัยของหนวยงานภาครัฐ
           ขนาดของลูกกลิ้งหรือฉากรับลูกกลิ้งใหสามารถควบคุม     และเอกชน ซึ่งยังคงมีอีกหลายหนวยงานในประเทศไทย
           การหมุนแบบความเร็วตํ่า เพื่อผลิตผืนเสนใยนาโนแบบ     ที่ยังคงตองการใชประโยชนจากเครื่องผลิตเสนใยนาโนดวย

           ไมถักทอและความเร็วสูง เพื่อใชในการผลิตเสนใยนาโน   ไฟฟาสถิตชนิดนี้อีกมาก
           แบบขนาน



                                                                                 ผลจากการวิจัยดังกลาวทําให
                                                                          ประเทศไทยมีเครื่องผลิตเสนใยนาโนตนแบบ
                                                                          เพื่อพัฒนาตอยอดไปสูเชิงพาณิชยได การผลิต

                                                                          เครื่องผลิตเสนใยนาโนยังคงตองพัฒนาตอไป
                                                                          เพื่อใหไดสิ่งประดิษฐสําหรับคนไทยและ
                                                                          ผูสนใจ ไมวาจะเปนนักวิจัยเอง หรือภาค
                                                                          อุตสาหกรรม จากความสําเร็จดังกลาวโดย
                                                                          การปรับปรุงเครื่องผลิตเสนใยนาโนแบบ

                                                                          เข็มเดียว (Single needle electrospinning)
           ยังคงตองมีการพัฒนาตอเพื่อใหสามารถผลิตเครื่องใหมีขนาดเล็กลง และมีราคาถูก เพื่อเปนประโยชนในงานวิจัยของนักเรียน
           ตามโรงเรียนและนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย ตามหลักการ Thailand 4.0 ที่เนนใหนักเรียน นักศึกษาเรียนรูดวยตนเอง

           และมีจินตนาการในการคิดสรางสรรคเพื่อผลิตนวัตกรรมทดแทนหรือพัฒนานวัตกรรมจากสิ่งประดิษฐเกา


                  ผลงานวิจัยเรื่อง  “เครื่องผลิต
           เสนใยนาโนดวยไฟฟาสถิต” ไดขึ้นทะเบียน
           ในโครงการที่ไดรับการสนับสนุนเพื่อพัฒนา

           สิ่งประดิษฐในบัญชีสิ่งประดิษฐไทยใหขึ้นสู
           บัญชีนวัตกรรมไทย ประจําป 2559 – 2560
           ดานอื่น ๆ ของสํานักงานคณะกรรมการวิจัย

           แหงชาติ (วช.)






           ผูสนใจสามารถสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ : รองศาสตราจารย ดร.นพวรรณ  ชนัญพานิช คณะวิทยาศาสตรประยุกต
           มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ เลขที่ 1518  ถนนประชาราษฎร 1 แขวงวงศสวาง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร

           10800 โทรศัพท : 0 2555 2000 ตอ 1538 โทรศัพทมือถือ : 08 9205 9561 E-mail : noppavan.c@sci.kmutnb.ac.th



         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12