Page 6 -
P. 6

3

                                        ขั้นตอนและวิธีท าปุ๋ยหมัก
                     งานวิจัยเพื่อประชาชน



                        ขั้นตอนและวิธีท�ำปุ๋ยหมัก

                                                      3

                                          ขั้นตอนและวิธีท าปุ๋ยหมัก





                 เครื่องผลิตปุ๋ยหมัก เป็นเครื่องช่วยทุ่นแรง
           ในการพลิกกลับกองใช้ท�าปุ๋ยหมักได้ง่าย ย่อยสลายเร็ว

           เป็นเครื่องอ�านวยความสะดวกในการท�าปุ๋ยหมักออกแบบ
          เพื่อการใช้งานภายในบ้านเรือน  หรือในแปลงเกษตร
            สามารถเดิมวัสดุอินทรีย์เข้าถังหมักได้ตลอดเวลา  ซึ่ง



            อินทรียวัตถุในถังสามารถย่อยสลายได้เร็วเพียง 1 สัปดาห์
          ที่ส�าคัญไม่มีกลิ่นเหม็น เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

                วัสดุและอุปกรณ์เครื่องผลิตปุ๋ย



               เครื่องผลิตปุ๋ยหมักมี 2 ขนาดได้แก่

                    ส�าหรับครัวเรือน ความจุถังหมัก ขนาด 80 ลิตร
                   (ราคา 25,000 บาทต่อเครื่อง)

                    ส�าหรับภาคการเกษตร ความจุถังหมัก ขนาด             ขั้นตอน
                   400 ลิตร (ราคา 35,000 บาทต่อเครื่อง)

               มอเตอร์ไฟฟ้า ขนาด 220 โวลต์                         ใส่ขยะอินทรีย์/ผักตบชวาสับ/ใบไม้แห้ง  ลงใน
               ใบกวนผสมที่หมุนได้ 2 ทิศทาง (หมุนไปข้างหน้า     ถังหมักให้เต็มเพียงครั้งเดียว หรือใส่ได้ทุกวัน
               และหมุนกลับทาง)                                         เปิดเครื่องครั้งแรกให้เดินเครื่องทั้งวัน

                ระบบป้องกันการ Overload การตัดไฟอัตโนมัติ              จากนั้นให้มีการกวนผสมวันละ 2 ครั้ง (เช้า-เย็น)
               เพื่อป้องกันความเสียหายของมอเตอร์                      ครั้งละ 1-2 นาที


               ล้อเลื่อนและล็อกเบรก ท�าให้สะดวกต่อการ                  เมื่ออินทรียวัตถุภายในถังเปลี่ยนสภาพเป็นสีด�า
               เคลื่อนย้าย                                            และมีลักษณะคล้ายดิน โดยทั่วไปประมาณ


                                                                      1 สัปดาห์ให้เปิดเอาปุ๋ยหมักออกจากเครื่อง
                                                                       น�าใส่เข่งหรือกองไว้ เพื่อให้เกิดกระบวนการ
                                                                      ย่อยสลายอย่างสมบูรณ์ (อุณหภูมิในกองปุ๋ยหมัก
                                                                      เท่ากับอุณหภูมิบรรยากาศ (ไม่มีความร้อน)
                                                                       น�าปุ๋ยหมักที่ได้ไปใช้งานตามสัดส่วนที่เหมาะสม




                ผู้สนใจสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : ดร.ลักขณา เบ็ญจวรรณ์ ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง
         มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เลขที่ 1 หมู่ที่ 6 ถนนมาลัยแมน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�าแพงแสน จังหวัดนครปฐม 73140

         โทรศัพท์ 09 4463 5614
                                                                                    สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
          6                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11