Page 8 -
P. 8
รอบรู้งานวิจัย
4. อะไรบ้างที่ได้รับความคุ้มครองลิขสิทธิ์
“วรรณกรรม” ได้แก่ งำนเขียนแต่งทุกชนิด เช่น หนังสือ จุลสำร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ ปำฐกถำ เทศนำ
ค�ำปรำศรัย สุนทรพจน์ สิ่งบันทึกเสียงหรือภำพอื่น ๆ
“ศิลปกรรม” ได้แก่ งำนอันมีลักษณะอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งหรือหลำยอย่ำงดังต่อไปนี้ งำนจิตรกรรม
งำนประติมำกรรม งำนภำพพิมพ์ งำนสถำปัตยกรรม งำนภำพถ่ำย งำนภำพประกอบ แผนที่ โครงสร้ำง ภำพร่ำง
หรือหุ่นจ�ำลองต่ำง ๆ รวมทั้งงำนศิลปะประยุกต์ ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภำพยนตร์ ตลอดจนงำนแพร่เสียง
แพร่ภำพต่ำง ๆ คือ เสียงและภำพทำงวิทยุ และวิทยุโทรทัศน์ เป็นต้น รวมทั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์
5. ขอบเขตและอายุของการคุ้มครอง
พระรำชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ก�ำหนดขอบเขตและอำยุของกำรคุ้มครองไว้ พอสรุปสำระส�ำคัญ
ได้ดังนี้
5.1 สิ่งที่กล่ำวมำแล้วในข้อ 4 เป็นสิ่งที่ได้รับควำมคุ้มครองลิขสิทธิ์ตำมพระรำชบัญญัติลิขสิทธิ์
พ.ศ. 2537 ทั้งสิ้น ผู้ใดจะ “ท�าซ�้า” หรือ “ดัดแปลง” คือ กำรคัดลอก เลียนแบบ ท�ำส�ำเนำ บันทึกเสียง บันทึกภำพ
หรือน�ำออกโฆษณำเผยแพร่ รวมทั้งน�ำไปดัดแปลง เปลี่ยนรูปใหม่ปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมใหม่ ท�ำส�ำเนำจ�ำลอง
บำงส่วนทั้งหมดจะต้องได้รับอนุญำตจำก “เจ้าของลิขสิทธิ์” เสียก่อน
5.2 อำยุกำรคุ้มครองลิขสิทธิ์ของทรัพย์สินทำงปัญญำดังกล่ำว มีแตกต่ำงกันออกไปตำมชนิดของ
ทรัพย์สินทำงปัญญำนั้น ๆ แต่โดยกว้ำง ๆ อำยุคุ้มครองลิขสิทธิ์มีอยู่ตลอดชีวิตผู้สร้ำงสรรค์ และอีกห้ำสิบปี
หลังจำกผู้สร้ำงสรรค์ตำยแล้ว
5.3 ผู้ใดละเมิดมีโทษอย่ำงสูงคือ ปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบำทถึงหนึ่งแสนบำท ถ้ำท�ำเป็นกำรค้ำมี
โทษสูงขึ้นคือ ปรับตั้งแต่สองหมื่นบำทถึงสองแสนบำท หรือจ�ำคุกไม่เกินหนึ่งปีและปรับตั้งแต่สองหมื่นบำท
ถึงสองแสนบำท
6. ข้อยกเว้น
เพื่อประโยชน์ในกำรศึกษำค้นคว้ำวิจัยพระรำชบัญญัติลิขสิทธิ์ดังกล่ำวได้ท�ำข้อยกเว้นไว้ในกรณีดังต่อไปนี้
6.1 กำรน�ำไปใช้ประโยชน์เพื่อกำรวิจัยหรือศึกษำ เช่น กำรน�ำไปอ้ำงอิงในกำรเขียนรำยงำน
กำรวิจัย เป็นต้น ทั้งนี้ต้องอ้ำงอิงที่มำไว้อย่ำงชัดเจน และต้องน�ำไปใช้ในปริมำณที่เป็นธรรม คือไม่คัดลอก
ไปเป็นจ�ำนวนมำกหรือเป็นจ�ำนวนที่กระทบต่อสิทธิประโยชน์ของเจ้ำของลิขสิทธิ์
6.2 ใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง ในครอบครัวหรือญำติมิตร เช่น ซื้อแถบบันทึกเสียงไปเปิดฟังในบ้ำน
ซื้อหนังสือไปอ่ำน อัดส�ำเนำเสียงเพลงลงแถบบันทึกเสียงไว้ฟังในบ้ำน เป็นต้น
6.3 น�ำไปติชมวิจำรณ์โดยแสดงที่มำ และชื่อเจ้ำของลิขสิทธิ์ของผลงำนนั้น ๆ
6.4 เสนอรำยงำนข่ำวทำงสื่อสำรมวลชน โดยบอกที่มำและชื่อเจ้ำของลิขสิทธิ์
6.5 น�ำไปท�ำซ�้ำ แปล หรือแปลง หรือน�ำออกแสดง เช่น จัดนิทรรศกำรเพื่อประโยชน์ในกำรสอน
6.6 คัดลอก ท�ำส�ำเนำ ดัดแปลงส่วนของงำน หรือตัดทอนท�ำบทสรุปตำมจ�ำนวนที่จ�ำเป็นเพื่อ
กำรเรียนกำรสอน
6.7 น�ำไปใช้เป็นส่วนหนึ่งในกำรถำมและตอบในกำรสอบ
6.8 กำรกล่ำว คัด ลอก เลียน หรืออ้ำงอิงงำนบำงตอนตำมสมควรจำกงำนอันมีลิขสิทธิ์ตำม
พระรำชบัญญัตินี้ โดยมีกำรรับรู้ถึงควำมเป็นเจ้ำของลิขสิทธิ์ในงำนนั้น ๆ ไม่ให้ถือว่ำเป็นกำรละเมิดลิขสิทธิ์
ขอขอบคุณข้อมูลจาก : หนังสือคู่มือ “นักวิจัยมือใหม่” จัดท�ำโดย ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ (วช.)
เลขที่ 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลำดยำว เขตจตุจักร กรุงเทพมหำนคร 10900 โทรศัพท์ 0 2579 1370 - 9
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
8 National Research Council of Thailand (NRCT)