Page 7 -
P. 7

รอบรู้งานวิจัย


            พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ที่ควรรู้



                  ในการศึกษาค้นคว้าและเรียบเรียงรายงานการวิจัย ผู้ศึกษา

           ค้นคว้าจะต้องใช้ข้อมูลหรือคัดลอกข้อความในหนังสือ สิ่งพิมพ์ รวมทั้งใช้
           โสตทัศนวัสดุเพื่อประกอบในการเขียนรายงานของตนเป็นส่วนมาก โดยที่
           หนังสือหรือข้อเขียนเป็นทรัพย์สินทางปัญญาอย่างหนึ่งของมนุษย์ และ
           เป็นสิ่งที่ จะช่วยสร้างสรรค์ส่งเสริมการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ดังนั้น  เพื่อความ

           เป็นธรรมแก่ผู้สร้างสรรค์ทรัพย์สินทางปัญญาเหล่านั้น ทั่วโลกจึงเห็นว่า
           สิทธิประโยชน์ของผู้สร้างสรรค์ทรัพย์สินทางปัญญาจะต้องได้รับความ
           คุ้มครองตามกฎหมาย เรียกว่า “กฎหมายคุ้มครองลิขสิทธิ์” และประเทศ
           ที่เจริญแล้วได้มีกฎหมายคุ้มครองมิให้สิทธิดังกล่าวถูกละเมิด นอกจาก

           กฎหมายภายในประเทศแล้ว ประเทศต่าง ๆ ยังได้ตกลงร่วมกันที่จะมีการ
           คุ้มครองสิทธิประโยชน์ดังกล่าวระหว่างประเทศด้วย


                                                              หนังสือ สิ่งพิมพ์ต่ำง ๆ ตลอดจนโสตทัศนวัสดุ เป็นทรัพย์สิน
                                                       ทำงปัญญำ ล้วนแต่อยู่ในขอบเขตของกำรคุ้มครองสิทธิดังกล่ำวทั้งสิ้น
                                                       ดังนั้น ผู้ศึกษำค้นคว้ำวิจัยซึ่งเป็นผู้น�ำเอำผลงำนเหล่ำนั้นไปใช้ประโยชน์
                                                       จึงควรมีควำมรู้เกี่ยวกับกฎหมำยคุ้มครองลิขสิทธิ์ เพื่อมิให้กระท�ำกำร
                                                       โดยละเมิดซึ่งเป็นกำรผิดกฎหมำย อำจได้รับโทษโดยรู้เท่ำไม่ถึงกำรณ์
                                                              ประเทศไทยเรำมีกฎหมำยคุ้มครองลิขสิทธิ์ของทรัพย์สินทำง

                                                       ปัญญำตำมแบบสำกลมำแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 2474 เรียกว่ำ “พระราชบัญญัติ
                                                       คุ้มครองวรรณกรรมและศิลปกรรม พุทธศักราช 2474” และได้ลงนำม
                                                       เป็นภาคีอนุสัญญากรุงเบอร์น ซึ่งเป็นอนุสัญญำระหว่ำงประเทศเพื่อ
                                                       กำรคุ้มครองลิขสิทธิ์ของสหภำพเพื่อกำรคุ้มครองงำนวรรณกรรมและ
                                                       ศิลปกรรมเมื่อ พ.ศ. 2474 นั้นด้วย ต่อมำได้มีกำรแก้ไขพระรำชบัญญัติ

                                                       ดังกล่ำวและประกำศใช้ “พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พุทธศักราช 2521”
                                                       เมื่อเดือนธันวำคม พุทธศักรำช 2521 และพระรำชบัญญัติลิขสิทธิ์
                                                       พุทธศักรำช 2537 ซึ่งใช้อยู่ในปัจจุบัน
              1.        ลิขสิทธิ์ คืออะไร


                               “ลิขสิทธิ์” หมำยควำมว่ำ สิทธิในฐำนะเป็นผู้สร้ำงสรรค์หรือเป็นเจ้ำของโดยรับโอนที่จะกระท�ำ
                        กำรใด ๆ เกี่ยวกับ “งำน” ที่ผู้สร้ำงสรรค์ได้ท�ำขึ้น


              2.        งาน คืออะไร


                               “งาน” หมำยควำมว่ำ งำนสร้ำงสรรค์ประเภทวรรณกรรม นำฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม
                        โสตทัศนวัสดุ ภำพยนตร์ งำนแพร่เสียงแพร่ภำพ หรืองำนอื่นใดอันเป็นงำนในแผนกวรรณคดี แผนก
                        วิทยำศำสตร์หรือแผนกศิลป์

              3.        ผู้สร้างสรรค์ คือใคร


                               “ผู้สร้างสรรค์” หมำยควำมว่ำ ผู้ท�ำหรือก่อให้เกิดงำน โดยควำมคิดริเริ่มของตนเอง เช่น
                        นักประพันธ์ กวี จิตรกร ศิลปิน นักแต่งเพลง สถำปนิกผู้ออกแบบประติมำกร ฯลฯ


         สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)                                                       (อ่านต่อหน้า 8)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12