Page 15 -
P. 15
กิจกรรม วช.
วช. ร่วม สอศ. เดินหน้าขับเคลื่อนพัฒนาศักยภาพ
บุคลากรสายอาชีวศึกษาด้วยวิจัยและนวัตกรรม
รองรับโจทย์การพัฒนาของประเทศในอนาคต
ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ(วช.) ร่วมกับ ส�านักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา(สอศ.) วางเป้าหมายพัฒนาศักยภาพนักประดิษฐ์สาย
อาชีวศึกษาของภาครัฐและเอกชน จากหลายร้อยสถาบันการศึกษาใน
4 ภูมิภาค เพื่อเพิ่มฐานความรู้ด้านเทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ในการ
พัฒนาสิ่งประดิษฐ์สู่การใช้ประโยชน์ และเพื่อระดมสมองแลกเปลี่ยน บนทิศทาง BCG และฐานการประดิษฐ์คิดค้นและการพัฒนานวัตกรรม
เรียนรู้ รวมถึงการพัฒนารูปแบบและเนื้อหาการบ่มเพาะนักประดิษฐ์ และมีผู้ทรงคุณวุฒิจากภาครัฐและภาคเอกชนเข้าร่วมเป็นวิทยากร
สายอาชีวศึกษา ให้สอดคล้องตามทิศทางการพัฒนาก�าลังคนด้าน จ�านวนมาก
อาชีวศึกษาที่ตอบโจทย์ความต้องการของประเทศ และเขตเศรษฐกิจ โดยในวันที่ 30 กันยายน 2562 ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง
พิเศษ จึงได้จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “Meet the Trainers : รองผู้อ�านวยการส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ ได้กล่าวสรุปการประชุมฯ
Invention & Innovation สายอาชีวศึกษา” ภายใต้แนวคิด Change for พร้อมมอบเกียรติบัตรแก่ผู้เข้าร่วมงาน ซึ่งมีประเด็นส�าคัญคือ การน�า
Future อาชีวะก้าวไกล ด้วยวิจัยและนวัตกรรม ระหว่างวันที่ 29 – 30 ศักยภาพของบุคลากรสายอาชีวศึกษา บูรณาการกับต้นทุนในพื้นที่
กันยายน 2562 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมมารวย การ์เด้นส์ เพื่อตอบโจทย์นโยบาย BCG ของประเทศ ใน 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) การ
กรุงเทพมหานคร โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล แปรรูปอาหารและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ 2) การสาธารณสุข สุขภาพ
ผู้อ�านวยการส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ เป็นประธานในพิธีเปิดและ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ 3) นวัตกรรมเพื่อการท่องเที่ยว และ
บรรยายพิเศษ เรื่อง “พัฒนาก�าลังคน 4.0 ด้วยวิจัยและนวัตกรรม” เศรษฐกิจสร้างสรรค์ และ 4) การพัฒนาเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
ซึ่งมีประเด็นส�าคัญคือ มุ่งน�าก�าลังคนที่ผ่านการบ่มเพาะไปขับเคลื่อน อุปกรณ์อัจฉริยะ พลังงานและสิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจ BCG ที่เป็นทิศทางส�าหรับปี 2563 ได้แก่ B – Biotechnology ในการประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ มีบุคลากรระดับผู้บริหาร
เทคโนโลยีชีวภาพ C - Circular Economy เศรษฐกิจหมุนเวียนและ อาจารย์ สายอาชีวศึกษา ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เข้าร่วมประชุม
G - Green Economy เศรษฐกิจสีเขียว เพื่อชี้ทิศทางการพัฒนาก�าลังคน จ�านวน 350 คน
วช. เปิดเวทีให้นักประดิษฐ์น�าผลงานประดิษฐ์ประกวด
ในงาน “การประกวดผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจ�าปี 2563”
การจัดงานประกวดผลงานประดิษฐ์คิดค้น เป็นอีกหนึ่ง
เวทีที่จะช่วยส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจแก่นักวิจัยและนักประดิษฐ์
ไทย ในการสร้างสรรค์ผลงานวิจัยสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่มี
คุณภาพ เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศชาติ และสนับสนุน
นักวิจัย นักประดิษฐ์ ในการพัฒนางานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ
ให้สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ในมิติต่าง ๆ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบาย
ของรัฐบาลที่มีความมุ่งมั่นที่จะปรับเปลี่ยนการพัฒนาประเทศด้วย
โครงสร้างเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม เกิดการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ สามารถน�าไปสู่ “ประเทศไทย 4.0”
ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่งคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็น
ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จัดการประกวดผลงานประดิษฐ์ ประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
คิดค้น เพื่อขอรับรางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ซึ่ง พอเพียง” โดยงานดังกล่าวจัดขึ้น ระหว่างวันที่ 23 – 24 กันยายน
เป็นกิจกรรมที่ วช. จัดขึ้นเป็นประจ�าทุกปี เพื่อเป็นการเปิดเวทีให้นักประดิษฐ์ 2562 ณ ห้องประชุม จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ชั้น 2 อาคาร วช. 2
ไทยได้แสดงศักยภาพด้านการประดิษฐ์คิดค้น และเพื่อให้เผยแพร่ผลงานออก ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์สิริฤกษ์
สู่สาธารณชน เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาต่อยอดผลงานไปสู่การใช้ ทรงศิวิไล ผู้อ�านวยการส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ เป็นประธาน
ประโยชน์ในมิติต่าง ๆ โดยในปีนี้ มีผลงานที่ส่งเข้าร่วมประกวดจ�านวนทั้งสิ้น ในพิธีเปิดงาน
177 ผลงาน ใน 9 สาขา ได้แก่ 1) สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ ภายหลังจากพิธีเปิดงานฯ ได้มีการจัดแสดงการใช้โดรน
2) สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ 3) สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช 4) สาขา ในการแปรอักษร ซี่ง วช. ได้มีการจัดอบรม “เทคนิคการบินโดรน
เกษตรศาสตร์และชีววิทยา 5) สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย แปรอักษร” ให้แก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษาทั่วประเทศที่ผ่านการ
6) สาขาสังคมวิทยา 7) สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ 8) สาขา คัดเลือกจากสมาคมกีฬาเครื่องบินจ�าลองและวิทยุบังคับ ระหว่าง
ปรัชญา และ 9) สาขาการศึกษา ซึ่งมีผลงานที่ผ่านการพิจารณาเบื้องต้น วันที่ 23 – 24 กันยายน 2562 โดยในวันที่ 25 ได้จัดให้มีการ
จากคณะกรรมการฯ จ�านวน 133 ผลงาน และได้น�าผลงานมาจัดแสดงให้ แข่งขันการบังคับโดรนตามค�าสั่ง ผ่านระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์
คณะกรรมการฯ ได้พิจารณารายละเอียดภายในงานครั้งนี้ ในการบังคับด้วย
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 15