Page 12 -
P. 12
กิจกรรม วช.
“วิจัยปลดล็อคส่งออกมะม่วงไปอเมริกา” ความภูมิใจของนักวิจัยไทย
ในการแก้ปัญหาเพื่อปลดล็อคการส่งออกมะม่วงน�้าดอกไม้สีทองสด
สู่ตลาดสหรัฐอเมริกา
จากปัญหาดังกล่าว จึงเกิดเป็นโจทย์วิจัยที่ท้าทาย
และรอค�าตอบจากนักวิจัยไทยเป็นอย่างยิ่ง จึงได้เกิดเป็น
โครงการ “การศึกษาวิจัยมะม่วงให้ได้คุณภาพมาตรฐาน
ส่งออก” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ
คุณภาพหลังการฉายรังสีแกมมา และการลดความเสียหาย
ของมะม่วงฉายรังสีแกมมา ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง
ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.), ส�านักงานพัฒนาเศรษฐกิจ
จากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) BEDO, มหาวิทยาลัย
นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 สหรัฐอมริกาได้อนุญาต นเรศวร และ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ และ
ให้น�าเข้าผลไม้สด (Fresh Fruit) ของไทย 6 ชนิด ได้แก่ มะม่วง งานวิจัยประสบผลส�าเร็จในปี พ.ศ. 2562 การส่งออกมะม่วง
ล�าไย มังคุด ลิ้นจี่ เงาะ และสับปะรด โดยจะต้องได้รับการ น�้าดอกไม้สีทองสามารถส่งออกสู่ตลาดสหรัฐอเมริกาได้
ฉายรังสีก่อนส่งออกไปยังสหรัฐฯ นับเป็นการเปิดตลาดผลไม้ อย่างเต็มภาคภูมิและได้รับการรับรองจากกระทรวงเกษตร
ไทยที่สร้างความภาคภูมิใจให้แก่ประเทศชาติ แต่ก็เป็นที่น่า สหรัฐอเมริกา
เสียดายอย่างยิ่งที่มะม่วงน�้าดอกไม้สีทอง แม้เป็นผลไม้ จากความส�าเร็จและความภูมิใจของนักวิจัยไทยที่
ที่มีความส�าคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่ท�ารายได้ให้กับ ต่อสู้มาอย่างยาวนานกว่า 12 ปี ในการแก้ปัญหาเพื่อปลดล็อค
ประเทศไทย สามารถปลูกได้ทุกภาคของประเทศ โดยมะม่วง การส่งออกมะม่วงน�้าดอกไม้สีทองสดสู่ตลาดสหรัฐอเมริกา
น�้าดอกไม้สีทองเป็นสายพันธุ์ที่มีความต้องการของตลาดสูง ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.), ส�านักงานพัฒนาเศรษฐกิจ
เนื่องจากมีลักษณะเด่น คือ เมื่อผลสุก ผิวของเปลือกมีสีเหลือง จากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) BEDO, มหาวิทยาลัย
นวลถึงเหลืองทอง เนื้อสีเหลืองมีกลิ่นหอม จึงเป็นที่ต้องการ นเรศวร และสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ จึงร่วมกัน
ของตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะ จัดงานแถลงข่าว “วิจัยปลดล็อคส่งออกมะม่วงไปสหรัฐอมริกา”
สหรัฐอเมริกาแต่ปรากฏว่านับตั้งแต่เริ่มส่งออกในปี พ.ศ. 2551 ในวันที่ 11 กันยายน 2562 ณ ห้องวิภาวดี C โรงแรมเซ็นทารา
การส่งออกมะม่วงน�้าดอกไม้สีทอง หลังฉายรังสีและส่งออกไป แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร
ถึงปลายทางที่สหรัฐอเมริกาได้ประสบปัญหาด้านคุณภาพ เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจและองค์ความรู้เพื่อเผยแพร่
และพบปัญหาการเกิดเส้นด�าบริเวณผิวเปลือก และเกิดเนื้อสี ผลงานวิจัยและเพื่อต่อยอดให้กับกลุ่มธุรกิจและผู้ประกอบการ
น�้าตาล ส่วนใหญ่มักเกิดบริเวณส่วนแก้มของผล ซึ่งไม่เป็นที่ ที่ต้องการขยายตลาดการค้าผลไม้สดของไทยสู่สหรัฐอเมริกา
ยอมรับของผู้บริโภค ท�าให้ประเทศไทยไม่สามารถส่งออก และตลาดต่างประเทศอื่น ๆ ต่อไป
ผลมะม่วงสดไปยังประเทศสหรัฐอเมริกาได้จนถึงปัจจุบัน
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
12 National Research Council of Thailand (NRCT)