Page 8 -
P. 8
รอบรู้งานวิจัย
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ
“การลอกเลียนโดยมิชอบ”
หนังสือ สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ตลอดจนโสตทัศนวัสดุ
เป็นทรัพย์สินทางปัญญา ล้วนแต่อยู่ในขอบเขตของการคุ้มครองสิทธิ
ดังกล่าวทั้งสิ้น ดังนั้น ผู้ศึกษาค้นคว้าวิจัยซึ่งเป็นผู้น�าเอาผลงาน
เหล่านั้นไปใช้ประโยชน์จึงควรมีความรู้เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครอง
ลิขสิทธิ์ เพื่อมิให้กระท�าการโดยละเมิดซึ่งเป็นการผิดกฎหมาย
อาจได้รับโทษโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์
การลอกเลียนโดยมิชอบ (Plagiarism)
หรือการลอกเลียนนั้นไม่เข้าข่ายผิดกฎหมาย แต่เนื่องจาก
นิยาม การลอกเลียนดังกล่าวเป็นการลอกเลียนโดยมิชอบ นักวิชาการ
การลอกเลียนโดยมิชอบ (Plagiarism) หมายความถึง และนักวิจัยจึงไม่พึงประสงค์ให้มีการลอกเลียนเช่นนี้
การลอกเลียนโดยมิชอบ ซึ่งการลอกเลียนดังกล่าวอาจจะ หลักการของการปกป้องทรัพย์สินทางปัญญาทั้งในทาง
เป็นการลอกเลียนความคิดบทความ ท�านองเพลง รูปภาพ กฎหมายและทางจริยธรรม ก็เพื่อส่งเสริมให้มีการสร้างสรรค์
หรือข้อมูล หรือสิ่งต่าง ๆ ที่มีคุณค่าทางการสร้างสรรค์ โดยให้ผู้สร้างสรรค์ได้มีโอกาสได้ประโยชน์จากการสร้างสรรค์
แต่ในขณะเดียวกันประโยชน์ต่าง ๆ เหล่านั้น ต้องอยู่ในสมดุล
หลักการและเหตุผล ภายใต้เงื่อนไขความยุติธรรมและมนุษยธรรม
ในทางการกฎหมาย จะมีกฎหมายทรัพย์สิน เนื่องจากในทางปฏิบัติ การลอกเลียนโดยมิชอบที่
ทางปัญญาคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาต่าง ๆ อยู่แล้ว เกิดขึ้นในการเผยแพร่งานวิชาการและงานวิจัยส่วนใหญ่
เช่น ลิขสิทธิ์สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า ฯลฯ ดังนั้นเมื่อเรา จะเป็นการลอกเลียนบทความ (การเขียน) แนวทางปฏิบัติ
เอ่ยถึง plagiarism จึงจะหมายถึงสิ่งที่กฎหมายมิได้คุ้มครอง ด้านล่างจึงเน้นไปที่การเขียนอย่างเหมาะสม
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
(อ่านต่อหน้า 8)
8 National Research Council of Thailand (NRCT)