Page 6 -
P. 6

งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล





                        การเพาะเลี้ยง “ผึ้งชันโรง” (ผึ้งจิ๋ว)







                  “ชันโรง” คือ ผึ้งพื้นเมืองของทวีปเอเชีย มิใช่มีเฉพาะในกลุ่มอาเซียนเท่านั้น ในอินเดีย จีนแผ่นดินใหญ่
           และไต้หวันก็มีชันโรงแพร่กระจายพันธุ์จากใต้ขึ้นสู่เหนือสุดที่ 23.5 � N ดูเหมือนผู้เลี้ยงผึ้งไม่เฉพาะคนไทยเท่านั้น
           ที่ให้ความส�าคัญกับผึ้งพันธุ์มากกว่าชันโรงอย่างเด่นชัด ท�าให้ลืมไปว่ายังมีผึ้งชันโรงพื้นเมืองที่เป็นแมลง

           สังคมแท้จริงของเอเชียที่มีศักยภาพและประสิทธิภาพในการผสมเกสรให้ดอกไม้ป่า และพรรณไม้ปลูกสร้าง
           ผืนป่าให้มีความหลากหลายยั่งยืน มาอย่างยาวนานถึง 65 ล้านปีมาแล้ว


                 การจัดการความรู้และต่อยอดงานวิจัยการเพาะเลี้ยง  ผึ้งชันโรงหลังลายของอาเซียน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็น

          ผึ้งชันโรงหลังลาย  เป็นการถ่ายทอดและขยายผลการใช้  แบบอย่างในการเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรงแบบครบวงจรที่ได้มาตรฐาน
          ประโยชน์ของ รองศาสตราจารย์ ดร.สมนึก บุญเกิด สาขา เป็นแหล่งฝึกอบรม และแหล่งผลิตผลงานวิจัยการแปรรูปผลิตภัณฑ์
          เทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�าแหง  ต่าง ๆ อาทิ เครื่องส�าอาง และเวชภัณฑ์ รวมถึงเพื่อส่งเสริม
          ที่ได้รับการสนับสนุนการวิจัยจากส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)  การท่องเที่ยวเชิงนิเวศด้วย
          และเป็นพระมหากรุณาธิคุณในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า          โดยการก�าหนดเป็นค่าเฉลี่ยมาตรฐานจ�าเพาะที่มาของ
          กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่พระองค์ น�้าผึ้งชันโรงในประเทศไทย  ซึ่งมีความแตกต่างจากน�้าผึ้ง
          ทรงอนุญาตให้ใช้สถานที่ในวังสระปทุมเป็นที่ศึกษาวิจัยทดลอง อุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก และเพื่อใช้อ้างอิงแหล่งที่มาของน�้าผึ้ง
          เพาะเลี้ยงผึ้งชันโรง จนได้รูปแบบมาตรฐานของการเพาะเลี้ยง  ชันโรงที่จะแปลกแยกไปจากค่ามาตรฐานก�าหนด อันเนื่องจาก
          ผึ้งชันโรงให้แก่เกษตรกรใช้เป็นแบบอย่างน�าไปปฏิบัติ รวมถึง  มีการปลอมปน และการน�าน�้าผึ้งชันโรงป่ามาฟอก ด้วยเหตุนี้เอง

          ได้ข้อมูลองค์ประกอบทางเคมีของน�้าผึ้งชันโรงและชันผึ้งเหลว  น�้าผึ้งชันโรงจ�าเป็นต้องมีมาตรฐานเป็นของตัวเองโดยเฉพาะ
          ในรูปแบบของแหล่งเลี้ยงในวังสระปทุมเป็นแบบอย่างของสวนป่า    น�้าผึ้งชันโรงแต่ละชนิดมีรสชาติจ�าเพาะ (Specific flavor)
          เปรียบเทียบกับแหล่งเลี้ยงในต่างจังหวัดที่เป็นแบบสวนป่า เช่น  มีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกัน รสชาติไม่เหมือนกัน โดยเฉพาะกลิ่น
          สวนผลไม้ สวนป่าชุมชน แหล่งเลี้ยงในชุมชนเกษตรกร และ  ของน�้าผึ้งชันโรงเป็นผลมาจากนางพญาแม่รังปล่อยกลิ่น (hive
              ในสวนผสมไม้ผลและไม้ประดับตามบ้านเรือน เป็นต้น   pheromones) คอยควบคุมพฤติกรรมของผึ้งชันโรง ใช้กลิ่น
                              โครงการผลิตน�้าผึ้งและชันผึ้งสมุนไพร เป็นสื่อต่อระหว่างพลรังเดียวกันแต่ละรังมีกลิ่นจ�าเพาะรัง กลิ่นนี้
                         อินทรีย์จากผึ้งชันโรงหลังลาย เป็นโครงการที่ จะจางหมดไปจากผึ้งชันโรงใช้เวลาประมาณ 1 เดือนเศษ

                           ไม่มีประเทศไหนในอาเซียนจัดท�ามาก่อน       น�้าผึ้งชันโรงหลังลายแต่ละรั้งนั้น เราไม่สามารถแยกแยะ
                           ประเทศไทยน่าจะเป็นผู้น�าในการเพาะเลี้ยง  ความแตกต่างได้ แต่ผึ้งชันโรงสามารถจ�ากลิ่นน�้าผึ้งของตัวเองได้












                                          ผึ้งชันโรงหลังลายสายพันธุ์เชียงใหม่  ผึ้งชันโรงหลังลายสายพันธุ์ภาคกลาง











                                                               โครงสร้างเซลตัวอ่อนของผึ้งชันโรง
                                                                                    สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
                                                                                               (อ่านต่อหน้า 8)
          6                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11