Page 9 -
P. 9
แนวทางปฏิบัติ
3.1 ในกรณีที่ข้อความที่เราเขียนขึ้น เป็น 3.5 ในการเขียนบทความ พึงหลีกเลี่ยงการอ่าน
องค์ความรู้หรือข้อมูลจากผู้นิพนธ์ท่านอื่นหรือบทความอื่น จากเอกสารอ้างอิงพร้อมกับเขียนต้นฉบับบทความไปด้วย
และข้อความนั้นผู้อ่านอาจจะต้องการรู้ที่มาที่ไป ให้อ้างอิง หรือคัดลอกข้อความจากที่อื่นมาแปะในต้นฉบับบทความที่
บทความเดิมไว้ด้วย (ดูหัวข้อ references and citations ก�าลังเขียน ถ้าปฏิบัติตามหลักการนี้ได้โอกาสที่จะบังเอิญเขียน
ประกอบ) ไปตรงกับข้อความในเอกสารอ้างอิงจนเข้าข่าย plagiarism
จะเป็นไปได้ยาก ในกรณีที่ผู้เขียนยังไม่แน่ใจว่าข้อความที่ตน
3.2 จากกรณีในข้อแรก ผู้เขียนควรจะต้อง เขียนนั้น ซ�้ากับข้อความที่ผู้อื่นเขียนก่อนหน้านี้อย่างไม่
พยายามทวนความ (paraphrase) หรือ ย่อความ (summarize) เหมาะสมหรือไม่ ผู้เขียนอาจจะตรวจสอบโดยโปรแกรม
ด้วยวาจา ลีลา และโวหารของตนเองในการเล่าองค์ความรู้ นั้น ๆ ตรวจสอบ plagiarism ต่าง ๆ ที่มีอยู่ท้องตลาดได้บางวารสาร
ไม่ควรน�าลีลาและโวหารของเดิมมาใช้ใหม่ ยกเว้นในกรณีที่ (http://en.wikipedia.org/wiki/Plagiarism_detection)
การเล่าความหรือทวนความ ไม่สามารถเล่าใหม่ได้ด้วย
วาจาลีลา และโวหารใหม่ได้ 3.6 ในกรณีที่บทความต้นฉบับที่ผู้เขียนต้องการ
น�ามาอ้างอิงเป็นบทความที่ตนเขียนเอง หรือข้อความที่ผู้เขียน
3.3 ในบางกรณีการทวนความหรือย่อความ ต้องการเขียนนั้น ผู้เขียนได้เคยเขียนลงบทความอื่นมาแล้ว
อาจท�าให้ความหมายเปลี่ยนไป หรืออรรถรสในการอ่าน เพื่อหลีกเลี่ยงข้อกล่าวหาการลอกเลียนตนเองโดยมิชอบ
เปลี่ยนไป เช่น ความเดิมเป็นร้อยกรองความเดิมเป็นการเล่นค�า (self - plagiarism) ให้ผู้เขียนพึงปฏิบัติต่อข้อเขียนของตน
และมีความหมายหลายแง่ให้ผู้อ่านคิดหรือความเดิมเป็น ดั่งเป็นข้อเขียนของบุคคลอื่น กล่าวโดยย่อคือมีการทวนความ
ประโยคอมตะ ซึ่งผู้อ่านส่วนใหญ่รู้จักดี ในกรณีดังกล่าวผู้เขียน หรือย่อความและการอ้างอิงอย่างเหมาะสม
จ�าเป็นต้องยกข้อความเดิมมาทั้งชุดให้ผู้เขียนใส่ข้อความเดิมไว้
ภายในเครื่องหมายอัญประกาศ พร้อมทั้งอ้างอิงข้อความ 3.7 การที่สองบทความมีข้อความเหมือนกันนั้น
เดิมด้วย ในตัวมันเองมิได้เป็น plagiarism ไปโดยอัตโนมัติหรือ
การที่ท�าการอ้างอิงแล้ว ก็มิใช่เป็นการปฏิเสธว่าข้อความ
3.4 เมื่อเขียนบทความเสร็จทุกครั้งแล้ว ควร ดังกล่าวมิใช่ plagiarism โดยสิ้นเชิง ผู้พิจารณาควรพิจารณา
ตรวจสอบโดยการเทียบบทความที่ตนเขียนกับบทความที่ตน หลักการและเหตุผลและแนวทางปฏิบัติทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น
ใช้อ้างอิง เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีข้อความใดที่เข้าข่ายการ โดยรวม
ลอกเลียนโดยมิชอบ
3.8 หลักการข้างต้นสามารถน�ามาประยุกต์ใช้
ในกรณีของรูปภาพหรือข้อมูลอย่างอื่นได้ด้วย ในกรณีของ
รูปภาพหรือตารางแสดงข้อมูล ถ้ามีการเผยแพร่ซ�้าจะต้อง
ขออนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อนและมีการอ้างอิงอย่าง
เหมาะสมด้วย
ขอขอบคุณข้อมูลจาก : คู่มือมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ จัดท�าโดย ส�านักงานคณะกรรมการวิจัย
แห่งชาติ (วช.) เลขที่ 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ 0 2579 1370 – 9
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 9