Page 10 -
P. 10
กิจกรรม วช.
วช. ส่งเสริมศักยภาพการวิจัยสังคมศาสตร์ของไทยในเวทีวิชาการโลก :
การประชุมสมัยสามัญครั้งที่ 23 ของ AASSREC (สมาคมสภาวิจัย
สังคมศาสตร์แห่งเอเชีย)
ต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย มากกว่า
ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 10 ประเทศ กิจกรรมของ AASSREC
โดย ศาสตราจารย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อ�านวยการ ครอบคลุมการประชุมสมัยสามัญและการประชุมคณะกรรมการบริหาร
ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ เข้าร่วมการประชุมสมัยสามัญครั้งที่ 23 ซึ่งจัดขึ้นทุก 2 ปี สลับหมุนเวียนกันไปตามประเทศสมาชิก รวมถึง
ของสมาคมสภาวิจัยสังคมศาสตร์แห่งเอเชีย (23 AASSREC Biennial การเสนอชื่อนักวิจัยไทยเข้าร่วมกิจกรรมวิจัยต่าง ๆ และการรับรางวัล
rd
General Conference) ระหว่างวันที่ 24 - 25 กันยายน 2562 ณ สถาบัน วิจัยด้านสังคมศาสตร์นานาชาติที่เผยแพร่ผ่าน AASSREC ซึ่ง วช.
สังคมศาสตร์แห่งเวียดนาม (Vietnam Academy of Social Sciences) ในฐานะหน่วยงานหลักด้านการให้ทุนวิจัยของประเทศได้เข้าร่วม
กรุงฮานอย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ในฐานะองค์กรหลัก เป็นสมาชิกของ AASSREC ตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง และได้เป็นผู้แทนของไทย
ของประเทศไทยในการให้ทุนการวิจัยด้านสังคมศาสตร์ในการช่วยพัฒนา เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของ AASSREC มาโดยตลอด เพื่อส่งเสริมบทบาท
ที่ยั่งยืนของประเทศ ของไทยในเวทีวิจัยสังคมศาสตร์โลกรวมถึงส่งเสริมการสร้างเครือข่าย
หัวข้อหลักของการประชุมครั้งนี้ คือ “ความมั่นคงและ และการพัฒนาศักยภาพการวิจัยด้านสังคมศาสตร์ของไทยในเวทีโลก
ความเสมอภาคเพื่ออนาคตที่ยั่งยืนของเอเชีย (Security and โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อ�านวยการ
Equality for Sustainable Futures in Asia)” ประกอบด้วย ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ ได้รับเลือกให้ด�ารงต�าแหน่งรองประธาน
4 หัวข้อย่อย คือ สมาพันธ์สภาวิจัยสังคมศาสตร์แห่งเอเชีย วาระการด�ารงต�าแหน่ง 2 ปี
1. การประเมินภัยคุกคามและความท้าทายด้านความมั่นคง จากการประชุมสมัยที่ 23 ของสมาพันธ์สภาวิจัยสังคมศาสตร์แห่งเอเชีย
(Assessing Security Threats and Challenges) (Association of Asian Social Science Research Councils,
2. การจัดการกับความขัดแย้งและความไม่เสมอภาคที่ AASSREC) โดยมีประธานสมาพันธ์และส�านักงานเลขาธิการอยู่ที่ประเทศ
เพิ่มมากขึ้น (Dealing with Increasing Inequality and Conflicts) ออสเตรเลีย AASSREC ประกอบด้วยประเทศสมาชิก 14 ประเทศ
3. สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์เพื่อความมั่นคงและ หลังได้รับเลือกให้ด�ารงต�าแหน่งรองประธานสมาพันธ์สภา
ความเสมอภาค (Social Sciences and Humanities for Security วิจัยสังคมศาสตร์แห่งเอเชีย ศาสตราจารย์ นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล
and Equality) ได้กล่าวถึง แผนการท�างานในช่วง 2 ปีข้างหน้า รวมถึงการขับเคลื่อน
4. การเปลี่ยนแปลงเพื่อน�าไปสู่โลกที่ยั่งยืนและได้รับ การด�าเนินงานร่วมกันระหว่างสภาวิจัยของแต่ละประเทศในทวีปเอเชีย
ประโยชน์อย่างทั่วถึง (Transformations to the Inclusive and เพื่อสร้างความมั่นคงและความเสมอภาคสู่อนาคตที่ยั่งยืนของเอเชีย
Sustainable World) โดยประเทศออสเตรเลียเสนอเป็นเจ้าภาพในการประชุมครั้งต่อไป
โดยผู้เข้าร่วมประชุมประกอบไปด้วยผู้บริหารสูงสุดและ
นักวิชาการจากหน่วยงานนานาชาติด้านสังคมศาสตร์จาก 11 ประเทศ
ได้แก่ ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย เกาหลี ศรีลังกา จีน
ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ นอกจากนี้ยังมีการน�าเสนอรายงาน
สถานการณ์ด้านการศึกษาและการวิจัยทางสังคมศาสตร์ในหัวข้อ
ที่ก�าหนดของแต่ละประเทศ ส�าหรับประเทศไทย ดร.ภูมิพัฒณ์
พงศ์พฤฒิกุล อาจารย์ประจ�าวิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและ
การบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ได้น�าเสนอเรื่อง “Transforma-
tions to the Inclusive and Sustainable World to Achieve
the Sustainable Development Goals”
ทั้งนี้ AASSREC เป็นองค์กรด้านสังคมศาสตร์แห่งเอเชีย
ที่จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ 2518 เพื่อร่วมกับประเทศสมาชิกในเอเชียในการ
ส่งเสริมการศึกษาและวิจัยด้านสังคมศาสตร์ของเอเชียให้พัฒนายิ่งขึ้นไป
ปัจจุบันประเทศสมาชิกของ AASSREC ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศ
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
10 National Research Council of Thailand (NRCT)