Page 7 -
P. 7

ยิ่งเป็นน�้าผึ้งตกค้างอยู่ในรังนาน ๆ ก็จะเป็นกลิ่นเดียวกันทั้งหมด
          ส่วนวิธีการเก็บน�้าผึ้งชันโรงทั้ง 2 สายพันธุ์ ได้แก่ สายพันธุ์เชียงใหม่
          และสายพันธุ์ภาคกลาง ที่ตั้งรังทดลองเลี้ยงภายในวังสระปทุม
          มีโครงสร้างรังตัวอ่อนต่างกัน แต่หลักการเก็บเกี่ยวน�้าผึ้งออกจาก
          รังไม่ต่างกัน คือพยายามอย่าให้ผึ้งงานในรังตาย ขณะท�าการแซะ
          ถ้วยน�้าผึ้งออกจากรังอาจจะเกิดการหมกตัวผึ้งชันโรงตัวเต็มวัยที่
          เดินไปมาเพราะความอยากรู้อยากเห็นสิ่งที่เคลื่อนไหวอยู่ภายในรัง
          จึงจ�าเป็นต้องท�าให้สลบด้วยการใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ แล้วใช้
          ลมเป่าพวกที่สลบให้ปลิวไปกองรวมกันในที่ที่ไม่มีถ้วยน�้าผึ้ง ซึ่ง เฉลี่ย 120 – 180 ฟอง ต่อวัน แต่อัตราการฟักเป็นตัวเต็มวัยขึ้นอยู่
          ระยะเวลาในการเก็บน�้าผึ้งต้องไม่เกิน 15 วินาที ต่อรัง โดยแซะ กับอัตราเลือดชิดในตัวพญาแม่รัง ผึ้งชันโรงมีพฤติกรรมขยัน

          ถ้วยน�้าผึ้งใส่ภาชนะที่สะอาดแล้วน�าไปกรองให้สะอาดอีกครั้งหนึ่ง (ถ้าไม่มีเลือดชิด) สามารถให้ผลผลิตได้อย่างสม�่าเสมอ จุดคุ้มทุน
                 ส�าหรับผึ้งชันโรงหลังลายสายพันธุ์เชียงใหม่ สามารถ  ใช้เวลา 2 – 3 ปี จากนั้นแทบจะไม่มีค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูแลรัง
          เก็บเกี่ยวน�้าผึ้งได้มากกว่าสายพันธุ์ภาคกลางเล็กน้อย และการ  แต่อย่างใด นับว่าคุ้มค่ามากที่เก็บเกี่ยวผลประโชยน์จากรังผึ้งชันโรง
          เก็บเกี่ยวดูเหมือนจะง่ายสะดวกกว่ารังสายพันธุ์ภาคกลาง เพราะ ไปได้นานถึง 25 ปี ถึงแม้จะได้ผลตอบแทน ต่อรัง ต่อปี ไม่มากแต่
          โครงสร้างภายในรังแยกส่วนระหว่างถ้วยน�้ากับแผงตัวอ่อนค่อนข้าง แลกกับความเสี่ยงที่ต�่ามากเหมาะส�าหรับคนรุ่นใหม่ที่ไม่อยาก
          ชัดเจน เปิดรังมาก็จะเห็นทันที เพราะรังมีผึ้งชันโรงหลังลาย  มีอาชีพที่ต้องผูกติดกับเรื่องของเวลาที่จะต้องดูแลเป็นประจ�า หรือ
          สายพันธุ์เชียงใหม่ ไม่หนาแน่นมากเท่าไรนัก แต่ถ้ารังเลี้ยงมานาน มีงานอื่นเป็นอาชีพหลักประจ�าอยู่แล้ว อยากจะเลี้ยงผึ้งชันโรง

          เป็นปี ไม่เคยเก็บน�้าผึ้งเลย ก็จะมีแผงตัวอ่อนล้อมรอบการเก็บ  เป็นอาชีพเสริมก็ย่อมได้ ผึ้งชันโรง 1 รัง ใช้เวลาดูแล 12 นาที
          ก็จะไม่ง่าย เช่นเดียวกับผึ้งชันโรงหลังลายสายพันธุ์กลาง  ต่อรัง ต่อปี ส่วนรังผึ้งพันธุ์ใช้เวลา 4 ชั่วโมง ต่อรัง ต่อปี หรือเทียบ
                 ส่วนการเพาะเลี้ยงนางพญากึ่งธรรมชาติ นางพญาแม่  เท่าค่าของผลผลิตรังผึ้งชันโรง 10 รัง เท่ากับ ผึ้งพันธุ์ 1 รัง
          รังเดียวเป็นตัวบงการควบคุมพฤติกรรมของผึ้งชันโรงเอาไว้ได้ เสียเวลาดูแลรังผึ้งชันโรง 2 ชั่วโมง ต่อ 10 รัง ต่อปี ซึ่งถือว่าใช้เวลา
          ทั้งหมด รวมถึงการรวมกลุ่มของผึ้งชันโรงตัวผู้ด้วย กิจกรรม  น้อยกว่าดูแลรังผึ้งพันธุ์ 1 รัง ต่อปี จึงไม่มีอาชีพไหนที่มีความอิสระ
          ทุกอย่างขึ้นอยู่กับนางพญาเพียงตัวเดียว อายุขัยของนางพญา  มากกว่าอาชีพเลี้ยงชันโรงอีกแล้ว
          แม่รังยืนยาวมากกว่า 25 ปี โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรม   ผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ :
          ตรงข้ามกับผึ้งพันธุ์ต้องเปลี่ยนนางพญาแม่รังทุกปี หรือ ทุก 2 ปี  รองศาสตราจารย์ ดร.สมนึก บุญเกิด ที่อยู่ 2086 อาคารคีรีมาศ

          ซึ่งเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก                        สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
                 นางพญาผึ้งชันโรงหลังลายลูกผสม มีข้อดีคือนางพญา  รามค�าแหง  ถนนรามค�าแหง  แขวงหัวหมาก
          แม่รังอายุยืน โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรม มีอัตราการไข่ เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 โทรศัพท์
                                                                   0 2310 8407 หรือ 0 2310 8382 ต่อ 18
                                                                   อีเมล agri.ru.ac@gmail.com


                                                                   นางพญา ผึ้งงาน และชันโรงตัวผู้











          การเก็บเกี่ยวน�้าผึ้งชันโรงที่ทดลองตั้งเลี้ยงฝน
                      วังสระปทุม

                      ขอขอบคุณข้อมูลจาก : คู่มือการเพาะเลี้ยงผึ้งชันโรง (ผึ้งจิ๋ว) (BEEKEEPING WITH FUSCO BEE)
           จัดท�าโดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมนึก บุญเกิด สาขาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�าแหง หัวหมาก

             กรุงเทพมหานคร ร่วมกับ ส�านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เลขที่ 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร
                                      กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ 0 2579 1370 – 9

         สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12