Page 6 - จดหมายข่าว วช 104.indd
P. 6
งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล
1. กําหนดเปนวาระแหงชาติเรงดวนในการพัฒนา. กําหนดเปนวาระแหงชาติเรงดวนในการพัฒนา
1
ศักยภาพของการทําสวนยางพาราทั้งระบบเพื่อใหไดรับการรับรอง
การจัดการปาไมในระดับนานาชาติ
2. กําหนดหรือสรางองคกรที่มีภารกิจในการรับมือ เจรจา
และสรางการรับรูกับผูเกี่ยวของ เชน การยางแหงประเทศไทย
กระทรวงพาณิชย กระทรวงการตางประเทศ และมหาวิทยาลัย
เปนตน
3. พัฒนาศักยภาพและสรางความพรอมของผูทําสวน
ยางพารา ผูประกอบธุรกิจไมยางพารา และเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ
ธุรกิจไมยางพาราในประเทศไทย เพื่อใหไดรับการรับรองการจัดการ ใหไดรับการรับรองการจัดการปาไมในระดับนานาชาติโดยดวน
ปาไมในระดับนานาชาติ” เพื่อหาแนวทางในการแกไขปญหาที่เกิด 4. สราง Forest Management Standard for Thailand
ขึ้นดังกลาว บนพื้นฐานของงานวิจัย ที่ไดรับการรับรองจาก FSC หรือ PEFC
จากการศึกษาวิจัย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ขวัญชัย ฯ 5. เรงวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมของการจัดการ
ไดกลาวถึงวิกฤตการณรับรองมาตรฐานการจัดการสวนยางพารา สวนยางพาราที่มีอยูหลากหลายรูปแบบในประเทศไทย เชน การ
ในประเทศไทย 6 ประการ ไดแก 1) ผลสืบเนื่องจากปญหาสังคม ปลูกเชิงเดี่ยว และการปลูกพืชรวมยางพารา เพื่อรองรับการตรวจ
และสิ่งแวดลอมโลกที่ทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นสงผลตอการเรง มาตรฐาน ภายใน 1 - 2 ป
ใหมีมาตรฐานการจัดการสวนยางพารา 2) สถานการณการสงออก และ 6. ผลักดัน เรงรัด และเพิ่มศักยภาพใหสวนยางพารา
ผลิตภัณฑจากไมยางพาราในระยะยาวอยูในสถานภาพที่มีความ ไทยผานมาตรฐานการรับรองการจัดการปาไมในระดับนานาชาติ
เสี่ยงสูง 3) ประเทศไทยมีพื้นที่สวนยางพาราที่มีการจัดการและ ตามปริมาณและความตองการของผูซื้อภายใน 2 ป
ไดรับการรับรองตามมาตรฐานการจัดการปาไมในระดับนานาชาติ และเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2562 ที่ผานมา สํานักงาน
เพียงรอยละ 0.5 ของพื้นที่สวนยางพาราทั้งประเทศ 4) มาตรฐาน การวิจัยแหงชาติ (วช.) รวมกับ สํานักงานคณะกรรมการ
การรับรองการจัดการปาไมในระดับนานาชาติตามเงื่อนไขของ สงเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ไดแถลงขาว
ผูซื้อมีหลายมาตรฐาน 5) ผูทําสวนยางพาราและผูประกอบธุรกิจ เรื่อง “การกีดกันทางการคาดวย Non tariff barriers ของยางและ
ไมยางพาราสวนใหญไมเขาใจในมาตรฐานการรับรองการจัดการ ไมยางพาราไทย” ณ หองประชุม 3 ชั้น 15 อาคาร SM Tower
ปาไมในระดับนานาชาติที่ดีพอ และ 6) มีการเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
การรับรองของ FSC จากเวอรชัน 4 เปน เวอรชัน 5 ในป พ.ศ. 2563 โดยมี ศาสตราจารย นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล เลขาธิการ
ซึ่งมีเงื่อนไขเพิ่มมากขึ้นในการปฏิบัติใหสอดคลองกับมาตรฐาน คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ทําหนาที่ ผูอํานวยการสํานักงาน
จากวิกฤตดังกลาว ผูชวยศาสตราจารย ดร.ขวัญชัย ฯ ได การวิจัยแหงชาติ และ ศาสตราจารย นายแพทยสุทธิพันธ
เสนอแนะแนวทางเพื่อตอบโจทยเรงดวนของวิกฤตยางพาราไทย จิตพิมลมาศ ผูอํานวยการสํานักงานคณะกรรมการสงเสริม
บนพื้นฐานงานวิจัย 6 ประการ ดังนี้ วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม พรอมดวย ผูชวยศาสตราจารย
ดร.ขวัญชัย ดวงสถาพร แหง ภาควิชา
การจัดการปาไม คณะวนศาสตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร นักวิจัย
หัวหนาโครงการวิจัย และผูที่เกี่ยวของ
รวมกันแถลงขาว เพื่อสรุปสถานการณ
ของยางพาราไทยในปจจุบันและนํา
เสนอแนวทางการแกปญหาหลังไทย
ถูกกีดกันทางการคา ดวย “มาตรการ
ทางการคาที่มิใชภาษี”
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
6 National Research Council of Thailand (NRCT)