Page 7 - จดหมายข่าว วช 104.indd
P. 7

งานวิจัยเพ� อประชาชน


                           การดูแลผูสูงอายุติดบาน
                           การดูแลผูสูงอายุติดบาน
                           การดูแลผูสูงอายุติดบาน




                 จากรายงานสถานการณผูŒสูงอายุไทย (ของมูลนิธิ         กระบวนการ WE CAN DO by
          สถาบันวิจัยและพัฒนาผูŒสูงอายุไทย) ในป‚ พ.ศ. 2559 ประเทศไทย TIM และกระบวนการมีสวนรวมของเครือขาย
          มีประชากรอาศัยอยู‹ทั้งหมดประมาณ 68.9 ลŒานคน ในจํานวนนี้เปšน ในพื้นที่ มีวิธีการดําเนินการ 7 ขั้นตอน และ 3 คุณลักษณะ
          ประชากรไทย 65.9 ลŒานคน และเปšนแรงงานขŒามชาติอีกประมาณ  ที่สําคัญดังนี้
          3 ลŒานคน ทั้งนี้ ในจํานวนประชากรไทยทั้งหมด 65.9 ลŒานคน     ขั้นตอนที่ 1   การสรางความตั้งใจ มุงมั่น และความ
          มีผูŒสูงอายุ 60 ป‚ขึ้นไปประมาณ 11 ลŒานคน หรือคิดเปšนรŒอยละ 16.5   รวมมือในการดูแลผูสูงอายุติดบาน (W-Willing) โดยมีการ
          ในขณะที่ประชากรรวมของประเทศไทยกําลังเพิ่มดŒวยอัตราที่ชŒาลง  จัดประชุมสรางความเขาใจและความรวมมือระหวาง “ภาคี

          อย‹างมาก จนเหลือเพียงรŒอยละ 0.4 ต‹อป‚ แต‹ประชากรผูŒสูงอายุ  หุนสวนในพื้นที่” เพื่อสรางแรงบันดาลใจในการรวมมือกันดูแล
          กลับเพิ่มขึ้นดŒวยอัตราที่สูงมาก ซึ่งป˜จจุบันประเทศไทยไดŒกŒาวเขŒาสู‹  ผูสูงอายุ พรอมทั้งจัดอบรมถายทอดองคความรูใหทีมในพื้นที่
          การเปšน “สังคมผูŒสูงอายุ” แลŒว ประเทศไทยจึงจําเปšนตŒองรับมือกับ  เพื่อใหเขาใจกระบวนการเสริมสรางความรวมมือของชุมชนเอง
          สถานการณดังกล‹าว
                 ดังนั้น เพื่อเปนการใชงานวิจัยและนวัตกรรมมาชวย    ขั้นตอนที่ 2   การรวมคนหา มองและสะทอนปญหา
          ในการรับมือกับสถานการณ “สังคมผูสูงอายุไทย” สํานักงาน  ความตองการ (E-Exploration) การรวมกันสํารวจ วิเคราะห
          การวิจัยแหงชาติ (วช.) จึงไดสนับสนุนโครงการวิจัย เรื่อง   ปญหา ความตองการของผูสูงอายุติดบาน การดูแลผูสูงอายุของ
          “การถายทอดองคความรูและภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อเสริมสราง  ผูดูแล ชุมชน ตลอดจนวิเคราะหระบบการดูแลผูสูงอายุของ

          ปติสุขสําหรับผูสูงอายุภาคเหนือ: การดูแลผูสูงอายุติดบานโดย  หนวยงานที่เกี่ยวของในชุมชน โดยใชเทคนิคการวางแผนแบบ
          กระบวนการ WE CAN DO by TIM และกระบวนการมีสวนรวม   มีสวนรวม (AIC) โดยผานการจัดเวทีรับฟงเสียงสะทอนของ
          ของเครือขายในพื้นที่”  ภายใตโครงการ  Research  for   ผูสูงอายุติดบาน ผูดูแล อาสาสมัครทางดานสาธารณสุข ผูนํา
          Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม ประจําป 2560        ชุมชน และบุคลากรทางการแพทยที่เกี่ยวของ โดยวิเคราะห
                 กระบวนการ WE CAN DO by TIM และกระบวนการ      ปญหาที่พบ และหาแนวทางจัดการกับปญหา และหาแนวทาง
          มีสวนรวมของเครือขายในพื้นที่ กระบวนการพัฒนารูปแบบ  ที่จะพัฒนาชุมชนเพื่อใหสามารถชวยเหลือและเอื้อประโยชน
          การดูแลผูสูงอายุติดบาน ผลลัพธการดูแลผูสูงอายุติดบาน ปจจัย  แกบุคคลในชุมชนไดอยางสูงสุด
          สนับสนุนความสําเร็จและอุปสรรคที่พึงระวังในการดูแลผูสูงอายุ  ขั้นตอนที่ 3   การรวมพลังรวมคิดเพื่อพัฒนา
          ติดบาน เปนนวัตกรรมเชิงกระบวนการที่เปนสวนหนึ่งของผล (C-cognition) การรวมพลังของทุกภาคสวน ที่รวมรับรู

          การวิจัย เปนการพัฒนาระบบการดูแลคนพิการโดยใชครอบครัว รวมคิด รวมวางแผน กําหนดแนวทางเพื่อแกไขปญหา และ
          และชุมชนเปนฐาน ซึ่งเปนนวัตกรรมตนไมเพิ่มปติสุขที่ประสบ สนองตอบความตองการการดูแลผูสูงอายุติดบานและครอบครัว
          ความสําเร็จโดยเกิดจากภาคีเครือขายที่มาทําดวยความสมัคร ซึ่งจะนําไปสูการสงเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งผลลัพธที่
          ใจจากทุกภาคสวนในพื้นที่ ซึ่งมีฐานความคิดสําคัญ 4 แนวคิด  ไดจากกระบวนการนี้ คือ ไดภาคีเครือขายดูแลผูสูงอายุติดบาน
          คือ 1) การดูแลตอเนื่องที่ไรรอยตอ (Seamless Continuing  และแผนการดูแลผูสูงอายุติดบาน
          Care) 2) ความเขมแข็งของครอบครัว (Family Strength)         ขั้นตอนที่ 4   การรวมปฏิบัติตามระบบการดูแลที่
          3) ศักยภาพของชุมชน (Community capacity) และ 4) การ  พึ่งประสงค(A-Acting) เปนการดําเนินกิจกรรมที่ชวยเอื้อ

          เรียนรูรวมกันสูความสําเร็จตามเปาหมาย (Collaborative   ตอการดูแลสุขภาพของผูสูงอายุติดบานสามารถแยกไดเปน 3
          Learning to Goal Success)                           กิจกรรมหลัก ไดแก 1) การรวมดูแลสุขภาพ สภาพแวดลอม
                                                              ที่อยูอาศัย ความเปนอยูของผูสูงอายุติดบานโดยผานกิจกรรม

                                                              เครือขายสุขภาพเยี่ยมชมผูปวยที่บาน เปนการสรางความรูความ
                                                              เขาใจทางสุขภาพรวมกันระหวางเครือขายจากชุมชนบุคลากร


                                     * ผลงานวิจัยของ รองศาสตราจารย ดร.รัชนี สรรเสริญ และคณะ แหง สํานักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ
                              มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ไดรับทุนสนับสนุนโครงการจากสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) ภายใตโครงการ
                              Research for Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม ประจําป 2560
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)                                                       (อานตอหนา 8)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12