Page 8 - จดหมายข่าว วช 104.indd
P. 8

งานวิจัยเพ� อประชาชน

                                                              กระบวนการทั้งหมดจะไมเกิดประโยชนแกชุมชนในระยะยาว

                                                              ไดหากขาดการดําเนินงานขับเคลื่อนโดยพลังของเครือขายทาง
                                                              ดานสุขภาพของชุมชนอยางยั่งยืน ดังนั้น ตองมีการหาจุดเดน
                                                              และจุดพัฒนาเพื่อการจัดการปญหาที่ตรงตามความตองการของ
                                                              ชุมชน และเสริมสรางพลังจากหนวยงานตาง ๆ ที่จะเขามาเสริม
                                                              ไมวาจะเปนดานการบริการวิชาการ การบริการทางดานสุขภาพ
                                                              การบริการทางดานเครื่องสาธารณูปโภค โดยเปนแรงเสริมทําให
                                                              การขับเคลื่อนของเครือขายสามารถดูแลกันเองไดภายในชุมชน
                                                              อยางยั่งยืน
                                                                     ในการดําเนินการทั้ง 7 ขั้นตอน จําเปนตองดําเนินการ

          ทางการแพทย และอาสาสมัครทางสาธารณสุข ที่คอยติดตาม โดยภาคีเครือขายที่มีคุณลักษณะที่สําคัญคือ
          การดูแลทางดานสุขภาพ และการสงตอไปยังโรงพยาบาลที่         1.  มีการทํางานรวมกันเปนทีมแบบหุนสวน (T-Team
          ใหญขึ้น เปนตน 2) กิจกรรมการสรางอาชีพและการสรางรายได approach) ที่เกิดจากการสรางและพัฒนาความสัมพันธเชื่อมโยง
          ใหแกผูสูงอายุและผูดูแล เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน อาทิ  ทุกสวนในชุมชนใหมีความเปนหนึ่งเดียวกัน (Unity) สามารถ
          การจัดอบรมการทําลูกประคบสมุนไพรที่สามารถจัดสรรวัตถุดิบ จัดการและพึ่งพากันเองในชุมชนได
          และอุปกรณไดงายภายในทองถิ่น และมีทุนทรัพยการผลิตที่    2.  มีแรงบันดาลใจในการดูแลผูสูงอายุ (I-Inspiration)
          ไมสูงมาก อีกทั้งยังเปนผลิตภัณฑที่ตองการของตลาดอีกดวย  ที่เกิดจากแรงผลักและแรงจูงใจในการทํางาน

          3) กิจกรรมการสรางความรูความเขาใจตอการดูแลสุขภาพทั้ง    3.  มีความรูสึกรวมในการเปนผูใหดวยหัวใจความเปน
          ทางดานรางกาย จิตใจ และการเขาสังคม โดยเปนกิจกรรมที่จัด มนุษย (M-Mankind and Humanize Care)
          ที่วัดผานประเพณีวัฒนธรรม เปนตน ซึ่งตองเปนกิจกรรมที่ชวย  ผลลัพธของการดูแลผูสูงอายุติดบานโดยกระบวนการ
          เสริมสรางพลังงานทางดานบวกใหแกคนในชุมชนเปนอยางดี  WE CAN DO by TIM และกระบวนการมีสวนรวมของเครือขาย

                 ขั้นตอนที่ 5  การรวมประเมินและใหขอสังเกตการ  ในพื้นที่ คือ จากการพัฒนารูปแบบการดูแลผูสูงอายุติดบาน
          ปฏิบัติ (N-Notice) หลังจากการจัดกิจกรรมที่ชวยใหการดูแล  โดยเปนการปฏิสัมพันธและเชื่อมโยงกันระหวางผูสูงอายุติดบาน
          ทางดานสุขภาพไดดําเนินการอยางตอเนื่องแลว ทางเครือขาย  ผูดูแล ทีมดูแลเชิงรุกจากหนวยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ
          แกนนําไดมีการประชุมหารือถึงแผนและผลลัพธการดําเนินงาน  และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนการดูแลแบบเปนหุน
          เพื่อมามองจุดดี สรางจุดเดน และพัฒนาจุดดอยของเครือขาย   สวนจากภาคประชาชน จนกลายเปนเครือขายชุมชนที่เขมแข็ง
          ผลการประชุมจะนําไปพัฒนาแผนการดําเนินงานตอไป        ไรรอยตอ มีการประสานบริการตาง ๆ สําหรับผูสูงอายุติดบาน

                 ซึ่งกิจกรรมที่จัดกระบวนการในสวนของ A-Acting ,   และผูดูแลโดยจัดใหเหมาะสมกับโครงสรางบริการที่มีอยูเดิม คือ
          N-Notice สามารถแบงออกเปน 3 กิจกรรมใหญ ๆ ไดแก   ใหภาคสวนตาง ๆ ที่อยูในพื้นที่เปนตัวตั้ง จัดลําดับความสําคัญ
          1) ลงพื้นที่ประเมิน เพื่อประเมินภาวะสุขภาพของผูสูงอายุติดบาน  ของภาคสวนที่เกี่ยวของ ทํางานรวมกับภาคสวนดังกลาวเนียนสนิท
          และชุมชน 2) กิจกรรมอบรมผูดูแลผูอายุติดบานและภาคีเครือขาย   มีการขับเคลื่อนดวยกระบวนการ WE CAN DO เพื่อนําไปสู
          และ 3) กิจกรรมอบรมผูสูงอายุติดบานและภาคีเครือขาย  ผลลัพธในการดูแลผูสูงอายุที่ดีขึ้น
                                                                     ผลงานวิจัย เรื่อง “การถายทอดองคความรูและภูมิปญญา
                 ขั้นตอนที่ 6   การรวมแสวงหาและพัฒนาตอ      ทองถิ่นเพื่อเสริมสรางปติสุขสําหรับผูสูงอายุภาคเหนือ: การ
          (D-Decoration) จากการประเมินการปฏิบัติงานทําใหทราบ  ดูแลผูสูงอายุติดบานโดยกระบวนการ WE CAN DO by
          ผลลัพธที่เกิดจากการดําเนินงาน จากนั้นแกนนําเครือขายระดม  TIM และกระบวนการมีสวนรวมของเครือขายในพื้นที่” ของ
          ความคิดเพื่อวางแผนการดําเนินงานเพื่อใหการดูแลระบบสุขภาพ  รองศาสตราจารย ดร.รัชนี สรรเสริญ และคณะ แหง สํานักวิชา
          มีความตรงตอความตองการของชุมชน ภายใตพลังของชุมชนเพื่อ  วิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง เปนผลงานวิจัย

          ความยั่งยืนของการดําเนินงาน                         ภายใตโครงการ Research for Community วิจัยเพื่อชุมชน
                 ขั้นตอนที่ 7  การสรางความโดดเดน ความตอเนื่อง สังคม ประจําป 2560 สนับสนุนโดยสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
          และความยั่งยืนดวยการเพิ่มพลัง  (O-outstanding)  (วช.)


                    ผูสนใจรายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดตามไดทางเว็บไซต : I4BizBank Innovation  for Business Bank สํานักงานการ
           วิจัยแหงชาติ (วช.) https://i4biz.nrct.go.th และอานเพิ่มเติมไดที่ลิงก https://i4biz.nrct.go.th/download/ebook/60007.pdf

                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13