Page 4 - NRCt_114
P. 4
งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล
ขยายผลส�าเร็จการวิจัยและนวัตกรรมธนาคารปูม้า
“คืนปูม้าสู่ทะเลไทย” สร้างมูลค่าเกือบ 4 พันล้านบาท
จากการประชุมของคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2561 มีมติให้
ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นหน่วยงานบูรณาการหลักร่วมกับหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย กรมประมง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ธนาคาร
ออมสิน บริษัทประชารัฐสามัคคี บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ากัด และกระทรวงพาณิชย์
น�าองค์ความรู้จากผลการวิจัยและนวัตกรรมมาต่อยอด หรือวิจัยเพิ่มเติม เพื่อขยายผล
ส�าเร็จของธนาคารปูม้าที่มีอยู่ไปสู่ชุมชนอื่น ๆ อย่างเหมาะสมกับบริบทพื้นที่และสภาวะชุมชน
จ�านวน 500 แห่ง วช. จึงร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่ายความร่วมมือและมหาวิทยาลัยในพื้นที่ ด�าเนินโครงการ
ขยายผลธนาคารปูม้าเพื่อ “คืนปูม้าสู่ทะเลไทย”
วช. กรมประมง และหน่วยงาน
ความร่วมมือได้ร่วมกันจัดท�าแผนการ
ด�าเนินงานในภาพรวมของประเทศ
ถอดบทเรียนและเผยแพร่คู่มือการ
จัดท�าธนาคารปูม้าในรูปแบบต่าง ๆ ให้
น�าไปปรับใช้ตามความเหมาะสมกับบริบท
และสภาวะชุมชนในแต่ละพื้นที่ รวมทั้ง
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ได้รวบรวมงานวิจัยและข้อมูลต่าง ๆ ที่
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เกี่ยวข้องมาสังเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผล
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ท�าหน้าที่ ผู้อ�านวยการส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ
ต่อการรอดของลูกปูม้าหลังการปล่อย
โครงการขยายผลธนาคารปูม้าเพื่อ “คืนปูม้าสู่ทะเลไทย” สู่ธรรมชาติ ซึ่งจะท�าให้เพิ่มอัตราการรอดและบริหารจัดการ
มีการด�าเนินการในภาพรวมของประเทศ ประกอบด้วย 1) การ ทรัพยากรปูม้าได้ดียิ่งขึ้น และได้เปิดตัวโครงการขยายผลธนาคาร
ขับเคลื่อนและบูรณาการการใช้ประโยชน์จากผลการวิจัยและ ปูม้า “เพื่อคืนปูม้าสู่ทะเลไทย” และรณรงค์การปลูกหญ้าทะเล
นวัตกรรม ในการขยายผลธนาคารปูม้า เพื่อเพิ่มจ�านวนธนาคาร ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของปูม้า เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2561
ปูม้าในพื้นที่ชายฝั่งให้ได้ 500 แห่ง 2) การขับเคลื่อนและ ณ จังหวัดตรัง จากนั้นได้มีการประชุมที่ส่งผลให้เกิดความร่วมมือ
บูรณาการให้เกิดการวิจัยและนวัตกรรมเพิ่มเติมใน 2 ประเด็น คือ และการมีส่วนร่วมในการจัดท�าแผนขยายผลธนาคารปูม้าตามมติ
(1) สามารถเพิ่มทรัพยากรปูม้าในท้องทะเลไทยให้เพิ่มขึ้น เช่น อัตรา คณะรัฐมนตรีอย่างเป็นรูปธรรม ระหว่างหน่วยงานระดับจังหวัด
การรอดของลูกปูม้า แหล่งที่อยู่อาศัย ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันวิจัย และชาวประมงบริเวณ
ในการปล่อย สร้างความตระหนักในเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากร พื้นที่ชายฝั่งภาคตะวันออก ภาคใต้ตอนบน ภาคใต้ตอนล่าง ควบคู่
ปูม้า สร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ไปกับการให้ความรู้ถึงวงจรชีวิต แนวทางการเพิ่มผลผลิต และ
ประชาสังคมในการพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ (2) การเป็นผู้น�าด้าน
การส่งออก เช่น การเพาะเลี้ยงปูม้าเชิงพาณิชย์ การขนส่งผลิตภัณฑ์
ปูม้า การแปรรูป และการบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ปูม้า การปรับปรุง
แก้ไขกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและพัฒนามาตรฐานการส่งออก
ในระดับสากล 3) การขับเคลื่อนและบูรณาการความร่วมมือในการ
สร้างมูลค่าเพิ่มจากผลผลิตธนาคารปูม้า และ 4) การขับเคลื่อน
และบูรณาการความร่วมมือในการก�าหนดวิธีการ/มาตรการ
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากร การอนุรักษ์ การฟื้นฟู ทรัพยากร
ทางทะเลและชายฝั่ง
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
4 National Research Council of Thailand (NRCT)