Page 5 - NRCt_114
P. 5

เทคนิคในการจัดท�าธนาคารปูม้าที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ รวมทั้ง การจับปูม้า จ�านวน 28,478.52 ตัน เพิ่มขึ้น 3,991.21 ตัน หรือเพิ่มขึ้น
          การรับฟังความคิดเห็นของชาวประมงในการก�าหนดแนวทางการ ร้อยละ 16.30 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน และ
          เพิ่มผลผลิตและฟื้นฟูทรัพยากรปูม้า จ�านวน 4 ครั้ง ในจังหวัดตรัง  คิดเป็นมูลค่ากว่า 1,596.48 ล้านบาท (ค�านวณที่ราคาจ�าหน่าย
          จันทบุรี สุราษฎร์ธานี และประจวบคีรีขันธ์ จากนั้นหน่วยงานในระดับ 400 บาท/กิโลกรัม) และปริมาณการจับปูม้าในช่วงเดือนมกราคม -
          พื้นที่ได้ส�ารวจพื้นที่ รับฟังความต้องการ ถ่ายทอดองค์ความรู้จากผล  มิถุนายน 2563 มีปริมาณการจับปูม้า จ�านวน 16,829.54 ตัน
          การวิจัยและเทคโนโลยี ตลอดจนการสนับสนุนปัจจัยการผลิตต่าง ๆ เพิ่มขึ้น 4,322.64 ตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 34.56 เมื่อเทียบกับ

                 จากเป้าหมายที่มติคณะรัฐมนตรีได้ตั้งไว้ให้ขยายผล ช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน แต่ข้อมูลปริมาณแม่ปูม้าที่รวบรวม
          ธนาคารปูม้า 500 แห่งหรือชุมชน ในการด�าเนินงานจริงได้  เข้าธนาคารปูม้าไม่ได้น�ามาบันทึกเข้าระบบดังกล่าวด้วย ซึ่งจาก
          ขยายผลไปแล้ว 543 แห่ง ครอบคลุมพื้นที่ชุมชนชายฝั่ง 20 จังหวัด   รายงานของธนาคารปูม้าทุกชุมชนในเดือน มิถุนายน 2563 พบว่า
          ประกอบด้วย กระบี่ 26 แห่ง จันทบุรี 28 แห่ง ชลบุรี 59 แห่ง  มีจ�านวนแม่ปูม้ากว่า 271,500 ตัน โดยคิดขนาดเฉลี่ยที่ 5 ตัว/
          เพชรบุรี 9 แห่ง ชุมพร 72 แห่ง ตรัง 53 แห่ง ตราด 34 แห่ง  กิโลกรัม จะได้น�้าหนัก 54.3 ตัน หากราคาขายอยู่ที่ 300 บาท/
          นครศรีธรรมราช 41 แห่ง นราธิวาส 4 แห่ง สุราษฎร์ธานี 52 แห่ง  กิโลกรัม จะมีมูลค่า 16.29 ล้านบาท เมื่อรวมกับจ�านวนปูม้าที่
          ภูเก็ต 11 แห่ง ระนอง 15 แห่ง ระยอง 12 แห่ง สงขลา 10 แห่ง   จับได้เพิ่มขึ้น จากการค�านวณเบื้องต้นจึงได้มูลค่าปูม้าเพิ่มขึ้น
          สตูล 27 แห่ง สมุทรสงคราม 8 แห่ง พังงา 29 แห่ง สมุทรสาคร   3,341.77 ล้านบาท อีกทั้งยังมีปูม้าที่จับโดยเรือประมงพื้นบ้าน
          10 แห่ง ประจวบคีรีขันธ์ 31 แห่ง และปัตตานี 12 แห่ง โดยมี  และไม่ได้รวบรวมในระบบอีกจ�านวนหนึ่ง จะเห็นว่าผลส�าเร็จที่เกิน

          หน่วยงานและมหาวิทยาลัยในพื้นที่ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้จาก เป้าหมายท�าให้เกิดเศรษฐกิจหมุนเวียน มีการกระจายรายได้สู่ชุมชน
          การวิจัยในกิจกรรมขยายผลธนาคารปูม้า จ�านวน 12 หน่วยงาน  อย่างเป็นระบบ ชุมชนมีความเข้มแข็งและมีชีวิตความเป็นอยู่
          ได้แก่ 1) กรมประมง 2) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 3) มหาวิทยาลัย ที่ดีขึ้นกว่าแต่ก่อน ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่
          เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 4) มหาวิทยาลัยทักษิณ 5) มหาวิทยาลัย ที่มีการขยายผลธนาคารปูม้ามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
          สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 6) มหาวิทยาลัยศิลปากร        นอกจากนี้การขยายผลธนาคารปูม้ายังมีการต่อยอด
          วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี 7) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   โดยการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ที่สามารถส่งต่อขยายผลความรู้ให้
          8) มหาวิทยาลัยแม่โจ้วิทยาเขตชุมพร 9) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ประชาชนอีก 22 แห่ง มีวิทยากรในท้องถิ่นที่จะขยายผลความรู้

          ราชมงคลตะวันออก  10)  มหาวิทยาลัยราชภัฏร�าไพพรรณี   กว่า 400 คน เพื่อเป็นต้นแบบกลไกในการบูรณาการการใช้ประโยชน์
          11) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ 12) มหาวิทยาลัยบูรพา  จากงานวิจัยและนวัตกรรมในการแก้ปัญหาของประเทศและ
          วิทยาเขตจันทบุรี                                    การบริหารทรัพยากรของประเทศจากการมีส่วนร่วมของทุก
                 จากการด�าเนินงานกรมประมงได้รายงานผลการ  ภาคส่วนอย่างแท้จริง เพื่อให้ประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณ์และ
          จับปูม้า โดยพบว่าในช่วงเดือนมกราคม - ธันวาคม 2562 มีปริมาณ  มีความสมดุลของระบบนิเวศ โดยเมื่อวันที่ 26 กันยายน 2563
                                                              ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการ
                                                              กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้ลงพื้นที่
                                                              ตรวจเยี่ยมความก้าวหน้าโครงการธนาคารปูม้า “คืนปูม้าสู่ทะเลไทย”
                                                              ณ ศูนย์เรียนรู้ธนาคารปูม้าและประมงชายฝั่งบ้านในถุ้ง ธนาคาร

                                                              ปูม้าบ้านในถุ้ง อ�าเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช และมี
                                                              ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล เลขาธิการ
                                                              คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ท�าหน้าที่ ผู้อ�านวยการส�านักงาน
                                                              การวิจัยแห่งชาติ และคณะผู้บริหารจาก วช. พร้อมด้วยนักวิจัย
                                                              ในโครงการให้การต้อนรับ


         สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10