Page 6 - NRCt_114
P. 6
งานวิจัยเพื่อประชาชน
OTOP TO ONLINE MARKETPLACE
โครงการยกระดับผู้ประกอบการสินค้า
หนึ่งต�าบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) สู่การค้าบนเครือข่ายสังคมออนไลน์
ของผู้ประกอบการ OTOP ในจังหวัดตรัง
ปัจจุบันพฤติกรรมการซื้อของลูกค้าเปลี่ยนไป
จากเดิมเป็นอย่างมาก โลกของเทคโนโลยีมีการปรับเปลี่ยน
อยู่ตลอดเวลา ความต้องการในสินค้าและบริการถูก
ปรับเปลี่ยนไปตามเทคโนโลยีและกระแสสังคม ส่งผลให้
ผลประกอบการชะลอตัว ผู้ประกอบการร้านค้าหลายคน
ต่างต้องปรับเปลี่ยนตนเองเพื่อความอยู่รอดของธุรกิจ
มองหาโอกาสในการส่งมอบสินค้าและบริการให้เข้าถึงลูกค้า
กลุ่มเป้าหมายให้มากที่สุด เปลี่ยนแปลงวิธีการน�าเสนอขาย
ปรับกลยุทธ์ของธุรกิจ ใส่ใจในความต้องการของผู้ซื้อ
มาเป็นอันดับแรก เพื่อให้สามารถผลิตสินค้าและบริการที่ขาย
ได้มากกว่าการผลิตตามความสนใจของตนเองแล้วรอให้
ลูกค้ามาซื้อเอง และเพิ่มช่องทางการขายต่าง ๆ เพื่อให้การ
รับรู้ในสินค้าและบริการนั้น ๆ เพิ่มมากขึ้น
เทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทในปัจจุบัน ก่อให้เกิด ที่ต้นทุนถูก เหมาะส�าหรับผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน
การปรับตัวของผู้ประกอบการหลายราย ส�าหรับประเทศไทย ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้ตระหนักถึงการ
การน�าเครือข่ายสังคมออนไลน์มาใช้ในการน�าเสนอขายสินค้า เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและพฤติกรรมของผู้บริโภคในยุคปัจจุบัน
ออนไลน์เป็นปรากฏการณ์ที่ทั่วโลกให้ความสนใจเป็นอย่างมาก ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการด�าเนินธุรกิจ และ
จนกระทั่งเฟซบุ๊กให้ความสนใจเข้ามาตั้งบริษัทในประเทศไทย เล็งเห็นความส�าคัญจึงได้สนับสนุนทุนอุดหนุนการท�ากิจกรรม
และเชิญกูรูด้านการตลาดบนเฟซบุ๊กหลายรายเข้าไปพูดคุย การวิจัย “โครงการยกระดับผู้ประกอบการสินค้าหนึ่งต�าบล
เพื่อปรับเปลี่ยนแพลตฟอร์มให้สามารถรองรับการใช้งาน หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) สู่การค้าบนเครือข่ายสังคมออนไลน์
ให้ดียิ่งขึ้น การเลือกช่องทางการสื่อสารอย่างเฟซบุ๊กในการ ของผู้ประกอบการ OTOP ในจังหวัดตรัง” เพื่อยกระดับ
แลกเปลี่ยนซื้อขายสินค้าออนไลน์ เนื่องจากมีผู้ใช้เป็นจ�านวน การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้เข้ากับสถานการณ์โลก
มาก หลากหลายกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เข้าถึงง่าย สะดวก ด้วยการใช้แนวทางเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy)
รวดเร็ว ปัจจุบันแพลตฟอร์มถูกปรับเปลี่ยนอยู่ตลอด เพื่อ เป็นแนวทางการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ กรณีศึกษา
รองรับการใช้งานของคนทั่วโลก ในจังหวัดตรัง
การพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศด้านพาณิชย์ ผลจากการศึกษางานวิจัย “รูปแบบการตลาด
อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ของภาครัฐ และการส่งเสริม ออนไลน์บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ (เฟซบุ๊ก) ส�าหรับวิสาหกิจ
ให้น�าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) มาเป็นเครื่องมือ ชุมชน กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผ้าทอนาหมื่นศรี
มีส่วนส�าคัญที่จะเสริมสร้างขีดความสามารถให้เข้าสู่การ อ�าเภอนาโยง จังหวัดตรัง” ชี้ให้เห็นถึงความสามารถในการ
แข่งขันในเวทีโลกของประเทศได้ และการประกอบพาณิชย์ ยกระดับผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนสู่ตลาดออนไลน์
อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ยังเป็นแหล่งงานธุรกิจสมัยใหม่ ผู้ประกอบการมีรายได้จากการขายสินค้าเพิ่มขึ้น มีช่องทาง
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
6 National Research Council of Thailand (NRCT)