Page 15 - NRCT129
P. 15

กิจกรรม วช.


                           การลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม “โครงการทะเลไทยไรขยะ” นํางานวิจัยสูการปฏิบัติ

                                 สรางงานสรางรายได ยกระดับผลิตภัณฑเพิ่มชองทางทําเงิน










                 เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2564 ที่อุทยานแหงชาติสิรินาถ  มาจัดการกับปญหาทาทายเรงดวนที่สําคัญของประเทศ
          จังหวัดภูเก็ต ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรี ใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาอยางยั่งยืน โดย “แผนงาน
          วาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม พรอมดวย  วิจัยทาทายไทย ทะเลไทยไรขยะ” “การเพิ่มมูลคาและ
          ศาสตราจารย ดร. นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา  พัฒนาผลิตภัณฑจากผลพลอยไดและของเหลือใช
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม และคณะ เดินทางมาตรวจเยี่ยม  จากอุตสาหกรรมการเลี้ยงหอยมุกสูการตอยอด
          “โครงการทะเลไทยไรขยะ” ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ภายใต เชิงพาณิชยในอุตสาหกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม”
          การสนับสนุนทุนวิจัยจากสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) และโครงการ และ “แผนงานวิจัยครัวไทยสูตลาดโลก” พบวา ไดถายทอดองคความรู
          มหาวิทยาลัยสูตําบล สรางรากแกวใหประเทศ หรือ U2T ของ สูการนําไปใชประโยชนและตอยอดเชิงพาณิชยแลว ซึ่งกิจกรรมในครั้งนี้
          มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ที่ดําเนินกิจกรรมดานการทองเที่ยวและเศรษฐกิจ จะชวยใหเกิดการบูรณาการความรวมมือในการขยายผลผูประกอบการ
          สรางสรรค จากนั้นไดเขาเยี่ยมชมสถานประกอบการที่ประสบผลสําเร็จ อุตสาหกรรมการเลี้ยงหอยมุกในพื้นที่ รวมทั้งลดปริมาณของเหลือทิ้ง
          ในการนําผลงานวิจัยและนวัตกรรมมาพัฒนาประสิทธิภาพกระบวนการผลิต  ทางการเกษตร คือ เปลือกหอยมุก ซึ่งจะชวยสรางโอกาสในการตอยอด
          และเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑ : แปรรูปเม็ดมะมวงหิมพานต ผลิตภัณฑ งานวิจัยดานผลิตภัณฑแปรรูปจากพืชผักสมุนไพรที่ใชในอาหารไทย
          สารสกัดโปรตีน และผลิตภัณฑสารสกัดคอลลาเจนจากอุตสาหกรรม ชนิดอื่น ๆ ได อีกทั้งประชาชนทั่วไปยังเกิดการรับรูและตระหนักถึง “ปญหา
          การเลี้ยงหอยมุก และผลิตภัณฑกะเพราแปรรูป ภายใตแผนงาน “ครัวไทย ขยะพลาสติกในทะเล” อีกดวย
          สูตลาดโลก” โดยการสนับสนุนทุนจาก วช. และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร
          และเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) ที่บริษัท เมธีภูเก็ต จํากัด,
          อินทรฟารม และ ราน Blue Elephant Phuket
                 โดย วช. ไดรับมอบหมายใหบริหารจัดการทุนวิจัย
          และนวัตกรรม ประเด็นดานทรัพยากรธรรมชาติและ
          สิ่งแวดลอม โดยใชองคความรูจากการวิจัยและนวัตกรรม

          ระบบ Smart Guide ขานรับนโยบายทองเที่ยวเมืองรอง ที่สมุทรสงคราม













                 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
         วิจัยและนวัตกรรม (อว.) พรอมดวยทีมนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
         พระนคร นําโดย ดร.นิตินันท ศรีสุวรรณ และคณะ ลงพื้นที่ตอยอดผลผลิตงานวิจัย
         จากโครงการการพัฒนาเทคโนโลยีระบบไกดอัจฉริยะในเสนทางการทองเที่ยวเชิงอาหาร
         เพื่อสงเสริมการทองเที่ยว และกระตุนเศรษฐกิจของจังหวัดสมุทรสงคราม ชูเอกลักษณ
         ดานอาหารในแตละทองถิ่นของจังหวัด พลิกฟนชุมชน และจังหวัด หลังสถานการณ
         โรคระบาดโควิด-19 (COVID-19) โดยใชการวิจัยและนวัตกรรมอยางยั่งยืน เมื่อวันที่
         18 พฤศจิกายน 2564 ณ วิสาหกิจชุมชนบานริมคลองโฮมสเตย อําเภอเมือง
         สมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม
                 เทคโนโลยีระบบไกดอัจฉริยะ ภายใตชื่อ “Samut Food smart guide by Rmutp” ทําหนาที่ใหขอมูลเสนทางการทองเที่ยวในจังหวัด
         สมุทรสงคราม สามารถรับฟงคําบรรยายดวยระบบเสียงและภาพ แบบ 3D ประกอบกับการใช ระบบ AR (Augmented Reality) เทคโนโลยี
         ภาพเสมือนจริง ใหนักทองเที่ยวสแกนผาน QR Code บนปายที่ติดตั้งตามจุดเสนทางตาง ๆ ใหสามารถเขาถึงชุดขอมูลอาหารที่มีชื่อเสียง ผลผลิต
         ทางการเกษตรที่สําคัญ สินคาผลิตภัณฑชุมชนอีกจํานวนมากได
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         15
   10   11   12   13   14   15   16