Page 12 - NRCT129
P. 12

กิจกรรม วช.


                         วัฒนธรรมเพลงพื้นบานลําปางสูสากล ผานวง “ซิมโฟนีออรเคสตรา”
                         วัฒนธรรมเพลงพื้นบานลําปางสูสากล ผานวง “ซิมโฟนีออรเคสตรา”
                         วัฒนธรรมเพลงพื้นบานลําปางสูสากล ผานวง “ซิมโฟนีออรเคสตรา”
                                               ตอยอดสิ่งใหมบนรากฐานสิ่งเกา


                                                  ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึกษา
                                              วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ชมการแสดงดนตรีเลารองรอยประวัติศาสตรจังหวัดลําปาง
                                             ถายทอดเสียงเพลงพื้นบาน ผานการแสดงของวงดนตรีซิมโฟนีออรเคสตรา เมื่อชวงคํ่าวันที่
                                           11 พฤศจิกายน 2564 ณ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จังหวัดลําปาง โดยมี นายสิธิชัย จินดาหลวง
                                         ผูวาราชการจังหวัดลําปาง, ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ, ดร.ขวัญนภา สุขคร
                            ผูอํานวยการศูนยการศึกษานอกที่ตั้ง ลําปาง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต และประชาชนที่สนใจเขารวมชมการแสดงฯ
                                     การแสดงวงไทยซิมโฟนีออรเคสตรานี้ เปนผลงานการวิจัยใน “โครงการวิจัยพื้นที่ ทางวัฒนธรรมดนตรี
                             เพื่อพัฒนาและสรางสรรคจินตนาการใหม โดยอาศัยรองรอยวิถีชีวิตของชุมชนผานศิลปนในทองถิ่นผูสืบทอดวัฒนธรรม
                           ดนตรีของชุมชน” และ “โครงการขยายผลตอยอดวัฒนธรรมเพลงพื้นบานเพื่อเผยแพรใหเปนมรดกชาติ” ที่สํานักงาน
                         การวิจัยแหงชาติ (วช.) ไดสนับสนุน “มูลนิธิอาจารยสุกรี เจริญสุข” ซึ่งดําเนินการโดย รองศาสตราจารย ดร.สุกรี เจริญสุข
                        ในการวิจัยเพื่ออนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม โดยการคนหาเพลงเกาของชุมชนในพื้นที่ตาง ๆ เพื่อนํามาเรียบเรียงใหม
          พรอมเลนผานวงดนตรีซิมโฟนีออรเคสตรา เพื่อรักษาเพลงเกา นํามาเสนอในรูปแบบใหม เปนการกระตุนใหเกิดการเสริมสรางสิ่งใหมบนรากฐานสิ่งเกา
          เพื่อรักษาเสถียรภาพและอัตลักษณของสังคมไทยใหสืบทอดและคงอยูตอไป















                          การแสดงศิลปะดนตรีเพลงพื้นบาน


              ผานวงดนตรีซิมโฟนีออรเคสตรา “ไหวสาบูรพาจารย”












                             ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
                      ชมการแสดงดนตรี “ไหวสาบูรพาจารย” ถายทอดเสียงเพลงพื้นบาน ผานการแสดงของวงดนตรีซิมโฟนีออรเคสตรา เมื่อชวงคํ่า
                      วันที่ 12 พฤศจิกายน 2564 ณ วัดเจดียหลวง จังหวัดเชียงใหม โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
                     หัวหนาสวนราชการ และประชาชนที่สนใจเขารวมชมการแสดงฯ
                          สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ไดสนับสนุนทุนวิจัย
        ใหกับโครงการขยายผลตอยอดนวัตกรรมเพลงพื้นบานเพื่อเผยแพรใหเปนมรดกของชาติของ “มูลนิธิอาจารยสุกรี เจริญสุข” ซึ่งดําเนินการโดย
        รองศาสตราจารย ดร.สุกรี เจริญสุข ในการวิจัยเพื่ออนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม โดยการคนหาเพลงเกาของชุมชนในพื้นที่ตาง ๆ เพื่อนํามา
        เรียบเรียงใหม พรอมเลนผานวงดนตรีซิมโฟนีออรเคสตรา เพื่อรักษาเพลงเกา นํามาเสนอในรูปแบบใหม เปนการกระตุนใหเกิดการเสริมสรางสิ่งใหม
        บนรากฐานสิ่งเกา เพื่อรักษาเสถียรภาพและอัตลักษณของสังคมไทยใหสืบทอดและคงอยูตอไป
               การแสดง “ดนตรีไหวสาบูรพาจารย” เปนการเลาเรื่องประวัติศาสตรจังหวัดเชียงใหม และการบูชาอาจารย ผานบรรเลงดนตรีโดยวงไทย
        ซิมโฟนีออรเคสตรา โดยเริ่มจากเพลงกุหลาบเชียงใหม เพลงลาวดวงดอกไม เพลงลาวจอย เพลงคางคกปากสระ และลาวเจริญศรี อํานวยความสะดวก
        โดย รองศาสตราจารย ดร.สุกรี เจริญสุข ควบคุมวงโดย พันเอก ดร.ประทีป สุพรรณโรจน ระหวางการบรรเลงเพลง ดร.สุชาติ วงษทอง ศิลปนนานาชาติ
        ไดสรางสรรคภาพจิตรกรรมประกอบบทเพลง ซึ่งการแสดงดนตรีฯ จัดใหเขาชมในจํานวนที่นั่งตามขอกําหนดการปองกันโควิด-19 (COVID-19) และ
        การแสดงครั้งนี้ใชวิธีถายทําโดยบันทึกภาพและเสียงเพื่อเผยแพรผานสื่อออนไลนและสื่อโทรทัศนอีกดวย
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         12                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16