Page 8 - NRCT129
P. 8

งานวิจัย : การเกษตร

                        นวัตกรรม “เครื่องเรงกระบวนการแชและเพาะงอกขาวเปลือก


                                      เปนขาวกลองฮางงอก ภายใน 24 ชั่วโมง”

































                 ขŒาวฮางงอก เปšนการทําขŒาวกลŒองงอก จากการนําขŒาวเปลือก  เครื่องเรงกระบวนการแชและเพาะงอกขาวเปลือก ใชวิธีการแช
          ที่มีอายุก‹อนการเก็บเกี่ยว มาแช‹นํ้า ทําการเพาะงอก นึ่ง และผ‹านการอบแหŒง  และเพาะงอกขาวเปลือกในถังเดียวกันโดยใชระบบนํ้าแบบหมุนเวียน

          ถือเปšนภูมิป˜ญญาของชาวอีสาน ซึ่งนิยมบริโภคเพื่อเปšนยา เนื่องจาก  ฉีดสเปรยนํ้าใหไหลผานลงบนเมล็ดขาว ประมาณ 20 - 30 นาที
          มีคุณค‹าทางอาหาร และมีราคาคŒาปลีกที่สูง เดิมทีวิธีการผลิตของ  และหยุดพักประมาณ 60 - 90 นาที โดยกนถังออกแบบให
          ชาวบŒาน ตŒองใชŒทรัพยากรจํานวนมาก และใชŒเวลาในการผลิตขŒาว   ปริมาณการไหลเวียนและระยะตกลงถังพักที่เหมาะสมจึงทําให
          ประมาณ 7 วัน                                        เกิดปริมาณกาซออกซิเจนเพิ่มขึ้นในขั้นตอนนี้ได การหยุดพักและ
                 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา   การฉีดสเปรยนํ้าหมุนเวียนเปนวัฏจักรคาบเวลาเปนการทําให
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ไดเห็นคุณคาของภูมิปญญา  เกิดอุณหภูมิภายในถังเพาะงอกที่เหมาะสมตอการงอกเมล็ดขาว
          ของชาวอีสานและตองการสนับสนุนเพื่อพัฒนาการผลิตขาวฮางงอก  ซึ่งพบวาเกิดการงอกในระยะเวลาอันรวดเร็ว จึงชวยยนระยะเวลา
          ใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพดีมากยิ่งขึ้นและมีตนทุนในการผลิตที่ถูกลง   การผลิตใหสั้นลง และไดผลผลิตคุณภาพดียิ่งขึ้น มีกลิ่มหอม

          เพื่อเพิ่มมูลคาใหกับขาวฮางงอกและสงเสริมการสรางอาชีพและ  เนื้อสัมผัสดี ตอบโจทยการผลิตในจํานวนมาก แตลดตนทุน
          ภูมิปญญาทองถิ่นใหคงอยูตอไป โดยใชวิทยาศาสตรการวิจัยมาใช   ดานการผลิตและอนุรักษสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ ยังปรากฏสารกาบา
          จึงไดสนับสนุนทุนวิจัยแกนักวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย  ในขาวฮางงอกจากการใชนวัตกรรมมากถึง 2977 mg/100 g เพิ่มขึ้น
          มหาสารคาม เพื่อการผลิตนวัตกรรม “เครื่องเรงกระบวนการแชและ  จากวิธีการดั้งเดิมถึง 300 เทา
          เพาะงอกขาวเปลือก สําหรับการผลิตขาวกลองฮางงอกคุณภาพดี    การพัฒนานวัตกรรมนี้ เปนสวนหนึ่งในการสงเสริมอาชีพ
          ชวยอนุรักษพลังงาน เพิ่มคุณภาพและปริมาณการผลิต” โดยมี   และภูมิปญญาทองถิ่นใหคงอยูตอไป โดยนําหลักการทางวิทยาศาสตร
          รองศาสตราจารย ดร.สุพรรณ ยั่งยืน จากสาขาวิศวกรรมเครื่องกล   และนวัตกรรมมาใช จากเดิมที่ตองใชระยะเวลาและกระบวนการ
          คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.) และ   ที่ยุงยากซับซอน นวัตกรรมสามารถสรางแรงจูงใจใหแกเกษตรกร
          คณะนักวิจัย ทําการศึกษาคิดคน นวัตกรรมเครื่องเรงกระบวนการแช  ยุคเกาและยุคใหมในการตัดสินใจแปรรูปผลิตภัณฑมากยิ่งขึ้น อีกทั้ง

          และเพาะงอกขาวเปลือก ซึ่งเปนหัวใจสําคัญสําหรับการผลิต  สามารถออกแบบใหมีความยืดหยุน สําหรับการนําไปใชในลักษณะ
          ขาวกลองงอก ใหสําเร็จไดภายใน 24 ชั่วโมง จากเดิมใชเวลา 3 วัน   พื้นที่ตาง ๆ มีการถายทอดองคความรูสูภาคอุตสาหกรรมและ
          ซึ่งถือเปนนวัตกรรมใหมลาสุด ที่สามารถลดการใชแรงงานลงได   กลุมสนับสนุนของจังหวัดตาง ๆ ดังเชน ในหลายจังหวัดทางภาคเหนือ
          2.5 - 3 เทา อีกทั้งยังประหยัดพลังงานมาก โดยใชไฟฟาเพียง 40 บาท   และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีการยอมรับและสนับสนุน
          และใชนํ้า 1,000 ลิตร เทานั้น ตอจํานวนการผลิต 500 กิโลกรัม   นวัตกรรมดังกลาวไปใชตอยอดในการผลิตขาวฮางงอกไดอยางมี
          ประหยัดนํ้ามากขึ้นถึง 5 เทา โดยขณะนี้ วช. ไดใหขยายผลไปใน   ประสิทธิภาพ
          5 เขตพื้นที่ดําเนินโครงการฯ
                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13