Page 11 - NRCT129
P. 11
กิจกรรม วช.
กิจกรรม วช.
อว. รวมกับ กอ.รมน. เสริมสรางความเขมแข็งวิสาหกิจชุมชนดวยวิจัยและนวัตกรรม
มอบเครื่องอบแหงอินฟราเรดแบบถังหมุน
ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรี ของ รองศาสตราจารย ดร.จักรมาส เลาหวณิช รองผูจัดการ ศูนยความรวมมือของ รองศาสตราจารย ดร.จักรมาส เลาหวณิช รองผูจัดการ ศูนยความรวมมือของ รองศาสตราจารย ดร.จักรมาส เลาหวณิช รองผูจัดการ ศูนยความรวมมือ
ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรี
วาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม กับภาคอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
มอบนวัตกรรมเครื่องอบแหงอินฟราเรดแบบถังหมุน ใหกับวิสาหกิจชุมชน และผูชวยศาสตราจารย ดร.สุพรรณ ยั่งยืน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
กลุมผูผลิตขาวอินทรียครบวงจร และวิสาหกิจชุมชนขาวทิพยชาง ที่ วช. และ กอ.รมน. ไดใหการสนับสนุนทุนวิจัยมาแกไขปญหาเรื่อง
จังหวัดลําปาง เพื่อไวใชงาน และสงเสริมความเขมแข็งเศรษฐกิจและ ความชื้นของขาวและเมล็ดพันธุเกษตร โดยไดมีการขยายผลไปในพื้นที่
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2564 ดูแลของ กอ.รมน. แลวใน 4 ภูมิภาค
โดยมี นายอนวัช สัตตบุศย ปลัดจังหวัดลําปาง ในฐานะเลขาธิการ สําหรับ เครื่องอบแหงอินฟราเรดแบบถังหมุน เปนนวัตกรรม
กอ.รมน. จังหวัด กลาวตอนรับ นายธีรวัฒน บุญสม ผูอํานวยการ ที่ไดรับการขึ้นบัญชีสิ่งประดิษฐไทย และไดรับการสนับสนุนโครงการ
กองสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม สํานักงานการวิจัย สงเสริมและสนับสนุนตอยอดสิ่งประดิษฐไทย ประจําป 2559 ของ วช.
แหงชาติ (วช.) ไดรับมอบหมายจากผูอํานวยการสํานักงานการวิจัย ซึ่งนวัตกรรมดังกลาว ไดถูกนํามาสาธิตการใชเครื่องในกิจกรรมอบรม
แหงชาติ ใหกลาวรายงาน ณ วิสาหกิจชุมชนกลุมผูผลิตขาวอินทรีย เชิงปฏิบัติการใหกับเกษตรกร เปนอุปกรณที่กําเนิดรังสีอินฟราเรด
ครบวงจร หมู 4 ตําบลพิชัย อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง แบบใชกาซเชื้อเพลิงเผาในแผนเซรามิกรอน และแผรังสีอินฟราเรด
ซึ่งนวัตกรรมเครื่องอบแหงดังกลาวถือเปนความสําเร็จ ออกมา สวนแกสรอนจากการเผาไหม จะถูกลมพัดเปาไปดานทายของ
ที่นักวิจัยไทยสามารถผลิตไดเอง โดยไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก ถังอบ เปนลมรอนสําหรับอบแหงตอเนื่องจากรังสีผลิต จุดเดนของวิธี
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) นํามามอบใหเกษตรกรในพื้นที่ การอบแหง คือ การไดผลการอบแหงที่ดี ทั้งในดานการใชพลังงาน และ
ตําบลพิชัย จังหวัดลําปาง นําไปใชประโยชนแลว และขณะนี้ ดานคุณภาพของวัสดุ และยังสามารถเคลื่อนยายไปทํางานยังสถานที่
มีบริษัทเอกชน รับไปผลิตตอและจําหนายทั้งในและตางประเทศ ตาง ๆ ไดอยางสะดวก ดานการใชแรงงานในการควบคุมการทํางานของ
โดยในครั้งนี้ วช. รวมกับ กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายใน เครื่องจะใชแรงงานอยูที่ 1 - 2 คน จึงเปนเครื่องอบแหงที่ใชพลังงานได
ราชอาณาจักร (กอ.รมน.) นําองคความรูจากผลงานวิจัยและ คุมคา ประหยัดเชื้อเพลิง และคาจางแรงงาน เหมาะสําหรับธุรกิจขนาดยอม
นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ชุมชนเขมแข็งดวยวิจัยและ กลุมเกษตรกรสามารถอบแหงไดทั้งวัสดุที่มีลักษณะเปนผงกอนเม็ด
นวัตกรรม ผานการดําเนินงานของศูนยประสานการปฏิบัติที่ 1 - 5 เมล็ดพืช ถือเปนเครื่องมือทุนแรงที่เหมาะสําหรับกลุมเกษตรกร
โดย วช. ไดนํานวัตกรรมเครื่องอบแหงอินฟราเรดแบบถังหมุน วิสาหกิจชุมชน และผูประกอบการรายยอย เปนอยางมาก
การมอบ “นวัตกรรมตูล็อคเกอรปลอดเชื้อควบคุมผานสมารทโฟน”
ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
วิจัยและนวัตกรรม เปนประธานสงมอบ “นวัตกรรมตูล็อคเกอรปลอดเชื้อควบคุมผานสมารทโฟนเพื่อรับมือ
กับสถานการณโควิด-19” ซึ่งเปนผลงานที่ไดรับรางวัลการวิจัยแหงชาติ ประเภทรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน
ประจําป 2564 โดยมี ศาสตราจารย ดร. นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
วิจัยและนวัตกรรม รองศาสตราจารย ดร. คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา และ
ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ นางสุจิตรา พิทยานรเศรษฐ อธิบดีกรมกิจการผูสูงอายุ
นางสาวสราญภัทร อนุมัติราชกิจ อธิบดีกรมสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ และ พลโท พิเศษ ศิริเกษม
รองเลขาธิการกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ผูชวยศาสตราจารยบัวรอง ลิ่วเฉลิมวงศ
ผูชวยอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา (ผูแทนสํานักงานราชเลขานุการในพระองค 904) เปนผูรับมอบฯ
เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 ณ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
สําหรับการใชงานของนวัตกรรมตูล็อคเกอรปลอดเชื้อควบคุมผานสมารทโฟน สามารถเลือกใช
งานไดถึง 3 ระบบจากการสั่งงานผานโทรศัพทสมารทโฟน อาทิ การอบฆาเชื้อดวยกาซโอโซน การอบฆาเชื้อ
ดวยรังสี UV และการอบฆาเชื้อดวยความรอน โดยควบคุมการทํางานดวยเทคโนโลยีสมองกลฝงตัวรวมกับ
ระบบการสื่อสารผานอินเตอรเน็ตของสรรพสิ่ง จะชวยใหผูใชงานควบคุมการทํางานในแตละระบบ
ไดดวยตนเองผานโทรศัพทสมารทโฟนของผูใชงาน ซึ่งทําใหผูใชงานมีความมั่นใจในความปลอดภัยของอุปกรณ
ที่นําไปฆาเชื้อดวยตนเองได
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 11