Page 7 - NRCT129
P. 7

คือ เลี้ยงแบบปลอยฝูง ปลอยใหผสมพันธุกันเองตามธรมชาติ  และปจจัยการผลิต รวมทั้งหมุนเวียนพอพันธุและแมพันธุ
          โครงการวิจัยในครั้งนี้ จึงเนนการนําเทคโนโลยีชีวภาพมาชวย เพื่อปองกันไมใหเกิดการผสมพันธุแพะในฝูงเดียวกัน และ
          เพื่อยกระดับและมาตรฐานในการเลี้ยงแพะใหเปนฟารม สําหรับกลุมเกษตรกรที่สนใจดานการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลคา
          ปลอดโรคที่ไดมาตรฐานของกรมปศุสัตว การพัฒนาการผลิต เชน  เนื้อสเต็กแพะ  ลูกชิ้น  ไสอั่ว  แกงมัสมั่นนองแพะ

          พอพันธุ แมพันธุที่มีคุณภาพดวยวิธีการผสมเทียม การจัดการ แจวฮอนเนื้อแพะ (สุกี้อีสาน) เกษตรกรในแตละกลุมจะ
          ดูแลแพะเพื่อเพิ่มอัตราการติดลูก การเพิ่มมูลคาเนื้อแพะ มีอาจารยผูเชี่ยวชาญแตละดานลงไปใหความรูและคําปรึกษา
          ดวยการแปรรูปและเพิ่มรายไดใหกับเกษตรกร โดยการอบรม และเพื่อใหการดําเนินโครงการเปนไปตามเปาหมายจึงมีการจัดตั้ง
          ใหความรูเกษตรกรผูเลี้ยงแพะทั้งภาคทฤษฎีและการลงมือ ธนาคารนํ้าเชื้อแพะขึ้นที่มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ เพื่อเปนศูนยกลาง

          ปฏิบัติจริง ครอบคลุมในเรื่องดังตอไปนี้ 1) เทคโนโลยีชีวภาพ การผลิตนํ้าเชื้อแชแข็งและการผสมเทียมแพะ การวิจัยพัฒนา
          ดานชีววิทยาการสืบพันธุในแพะแมพันธุ 2) เทคโนโลยี คุณภาพนํ้าเชื้อใหมีความแมนยําในการผสมเทียมมากขึ้น
          ชีวภาพการทํางานของรังไข มดลูก รก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ เนนการผลิตนํ้าเชื้อแพะแชแข็ง 3 สายพันธุ คือ พันธุบอร
          การสืบพันธุแมพันธุแพะ และ 3) เทคโนโลยีชีวภาพดานการ พันธุแองโกลนูเบียน และพันธุพื้นเมือง ขณะนี้ไดเปดใหบริการ

          เพิ่มคุณภาพนํ้าเชื้อแชแข็งเพื่อการผสมเทียมและธนาคารอสุจิ เกษตรกรใน 2 รูปแบบ คือ 1) บริการผสมเทียม โดยเปดอบรม
          แพะพอพันธุ                                        หลักสูตรการผสมเทียมเปนแบบนอนดีกรี คือมาเรียนแลว
                 โดยผลจากการดําเนินงานโครงการวิจัยฯ ในชวง 1 ป  เก็บหนวยกิตสะสมเอาไว จนกระทั่งหนวยกิตสะสมเพียงพอ
          ที่ผานมา จากการใชนํ้าเชื้อสดและนํ้าเชื้อแชแข็งผสมเทียมแพะ  ก็ขอรับปริญญาได หรือนําไปประกอบการขอสินเชื่อเพื่อเลี้ยงแพะ

          เสริมดวยอาหารสมุนไพรที่สกัดจากวานชักมดลูก ชวยใหแพะ จาก ธ.ก.ส. 2) จําหนายนํ้าเชื้อแพะ เพื่อใหเกษตรกรนําไป
          ตั้งทอง คลอดลูกงาย มดลูกเขาอูเร็ว สามารถเพิ่มอัตราการ ผสมเทียมเอง แตเนื่องจากเกษตรกรที่มีชํานาญการผสมเทียม
          ติดลูกแพะของเกษตรกรที่รวมโครงการไดประมาณ 10 เปอรเซ็นต  แพะมีคอนขางนอย จึงไดเปดหลักสูตรอบรมการผสมเทียม
          แมจะเปนตัวเลขที่ไมสูงมากแตเกษตรกรก็พึงพอใจเพราะ ใหเกษตรกรดวย ขณะนี้อยูในขั้นเริ่มตนเพราะเพิ่งกอตั้ง

          สามารถลดตนทุนการผลิตสัตวไดถึง 40 เปอรเซ็นต ทําให คาดวาในระยะเวลา 3 ป
          เกษตรกรมีรายไดเพิ่ม สําหรับเกษตรกรที่สนใจเขารวมโครงการฯ  จะสามารถใหบริการ
          จากภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต จํานวนกวา 200 คน  เกษตรกรไดเต็มรูปแบบ
          จะใหการสนับสนุนเพื่อสรางเปนผูประกอบการรุนใหม มีชื่อวา  ตอไป

          “โครงการสรางผูประกอบการใหมหรือสตารทอัพ (Startup)
          เพื่อผลิตแพะเชิงพาณิชย” ซึ่งแยกออกเปน 2 กลุม ตามความสนใจ
          ของเกษตรกรผูเลี้ยงแพะ ไดแก กลุมเกษตรกรที่สนใจการเลี้ยง
          พอพันธุและแมพันธุ สงเสริมและสนับสนุนใหใชการผสมเทียม

          แทนการผสมพันธุโดยพอพันธุแพะ เพื่อจําหนายพอพันธุ แมพันธุ
          ซึ่งเกษตรกรจําเปนตองปรับเปลี่ยนใหเปนฟารมที่ไดมาตรฐาน
          โดยยกระดับเปน ฟารม GFM ฟารมปลอดโรคบรูเซลลา เกรด B
          และผลักดันใหมีการเชื่อมโยงกันเปนเครือขายเพื่อแลกเปลี่ยนความรู

         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12