Page 16 - จดหมายข่าว วช 135
P. 16

กิจกรรม วช.


                         วช. รวมกับ 7 หนวยงาน ลงนามขอตกลงการดําเนินงาน
                    “TAIST-Tokyo Tech Implementation Agreement”


              เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2565 ที่ผานมา สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) รวมกับ สํานักงานพัฒนา
       วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
       Tokyo Institute of Technology สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยี
       นานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี และมหาวิทยาลัย
       มหิดล รวมลงนามขอตกลงการดําเนินงาน “TAIST-Tokyo Tech Implementation Agreement” รวมกัน
       ภายใตการดําเนินงานเรื่อง “การพัฒนาบุคลากรวิจัยและวิศวกรรมทักษะสูงตามความตองการของประเทศ :
       ทุนสถาบันวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีขั้นสูงแหงประเทศไทยและสถาบันเทคโนโลยีแหงโตเกียว (ป 2565 - 2567)”
       ในการพัฒนาทุนมนุษยของประเทศใหมีศักยภาพทั้งในดานวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง เพื่อการรวมขับเคลื่อน
       การพัฒนาบุคลากรของประเทศ โดยการบูรณาการความรวมมือระหวางหนวยงานใหทุน และสถาบันการศึกษา
       ทั้งในและตางประเทศ เพื่อการพัฒนาประเทศและความสามารถในการแขงขัน โดยการเสริมสรางการวิจัยและพัฒนาและยกระดับกําลังคนของประเทศ
       เตรียมความพรอมใหคนไทยมีทักษะและความสามารถที่สูงขึ้นโดยตระหนักถึงแนวคิด Thailand 4.0 การขับเคลื่อนเศรษฐกิจดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยให
       ความสําคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและนวัตกรรมเปนลําดับแรก มีการทํางานรวมกับมหาวิทยาลัยในการออกแบบหลักสูตรใหมเพื่อตอบสนองตอการพัฒนา
       ประเทศ สงเสริมความรวมมือระหวางสถาบันการศึกษาและภาคเอกชนในการผลิตกําลังคนตามความตองการของตลาดแรงงาน
              โดยมี ศาสตราจารย ดร. นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เปนประธานในพิธีลงนามดังกลาว
       พรอมดวย Mr.Oba Yuichi อัครราชทูต ผูแทนจากสถานทูตญี่ปุน โดยผูลงนามในครั้งนี้ประกอบดวย  Professor Dr. Kazuya  Masu President of Tokyo Institute
       of Technology, JAPAN ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
       แหงชาติ รองศาสตราจารย ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิไล ผูแทนอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง  รองศาสตราจารย ดร.สุวิทย แซเตีย
       อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ศาสตราจารย ดร.พฤทธา ณ นคร ผูอํานวยการสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
       ดร.จงรัก วัชรินทรรัตน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และ ศาสตราจารย นายแพทยบรรจง มไหสวริยะ อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล


                          วช. รวมกับ ม.มหิดล อพท. และทองถิ่น ขับเคลื่อนการใชประโยชน

        จากผลงานวิจัยและนวัตกรรม “เรือไฟฟ‡าพลังงานแสงอาทิตย” ในพื้นที่เกาะหมาก จังหวัดตราด

                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) พรอมดวยทีมวิจัยจาก
                              มหาวิทยาลัยมหิดล รวมกับ องคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน) กรมทรัพยากร
                              ทางทะเลและชายฝง องคการบริหารสวนตําบลเกาะหมาก กลุมอนุรักษปะการังเกาะหมาก จังหวัดตราด ขยายผลการใชประโยชน
                              ผลงาน “นวัตกรรมเรือไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย” เพื่อสงเสริมนโยบายการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ในพื้นที่เกาะหมาก จังหวัดตราด
                                                  โดยเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2565 ดร.วิภารัตน  ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ รวมเปนประธาน
                                                  การสงมอบผลงานวิจัยและนวัตกรรม “เรือไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย” เพื่อสงเสริมนโยบายการทองเที่ยว
                                                  อยางยั่งยืน ใหแกชุมชนเกาะหมาก จังหวัดตราด โดยมี ผูบริหารของหนวยงานภาครัฐ เอกชน สถาบัน
                                                  อุดมศึกษา สวนราชการ และประชาชนในพื้นที่เกาะหมาก จังหวัดตราด เขารวมกิจกรรมดังกลาว
                                                  ณ ศูนย Low Carbon Learning Center ตําบลเกาะหมาก จังหวัดตราด


            วช. รวมกับ สวทช. ชี้แจง “ทุนส‹งเสริมกลุ‹มวิจัยศักยภาพสูง ประจําป‚ 2565” “ทุนส‹งเสริมกลุ‹มวิจัยศักยภาพสูง ประจําป‚ 2565” “ทุนส‹งเสริมกลุ‹มวิจัยศักยภาพสูง ประจําป‚ 2565”


              เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2565 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา
       วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) รวมกับ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ
       (สวทช.) ชี้แจง “ทุนสงเสริมกลุมวิจัยศักยภาพสูง” ประจําป 2565 ผานสื่ออิเล็กทรอนิกสดวยโปรแกรม
       Cisco Webex โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ เปนประธานกลาวเปด
       โดยกลาวถึงเปาหมายการสนับสนุนทุนวิจัย และไดรับเกียรติจาก ศาสตราจารย ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ
       อดีตรองนายกรัฐมนตรี ศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยสุทธิพร จิตตมิตรภาพ ประธานคณะกรรมการ
       สงเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (กสว.) รวมปาฐกถาพิเศษ “บทบาทที่คาดหวังจากนักวิจัยศักยภาพสูงในการขับเคลื่อนการวิจัยและพัฒนาของประเทศ”
       และ ดร.สิริกัญจณ เนาวพันธ ฝายบริหารโครงการความรวมมือวิจัยขนาดใหญ (สวทช.) ใหขอมูลแนวทางการขอรับทุนสงเสริมกลุมวิจัยศักยภาพสูงประจําป 2565
              ทั้งนี้ การเปดรับขอเสนอการวิจัย “ทุนสงเสริมกลุมวิจัยศักยภาพสูง” ประจําป 2565 เปดกวางใหกับนักวิจัยทุกสาขาในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
       โดยมุงเนนการพัฒนาศักยภาพกลุมนักวิจัยและการใชประโยชน จากโครงสรางพื้นฐาน ใหบรรลุเปาหมายที่สอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาวิทยาศาสตรและ
       เทคโนโลยีของประเทศ สรางผลงานดานนวัตกรรม เทคโนโลยี องคความรู ที่สามารถแขงขันและเปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ กอใหเกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจ
       และสังคมอยางกวางขวาง เชน การรองรับหรือยกระดับอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และการบริการยุคใหมของประเทศ มุงสูเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม หรือการสนับสนุน
       โมเดลเศรษฐกิจ BCG สงเสริมความยั่งยืนตอไป
                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         16                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   11   12   13   14   15   16