Page 15 - จดหมายข่าว วช 135
P. 15

กิจกรรม วช.


             4 เสือ อว. และ มรภ.สงขลา ปน “สตูล” สูจังหวัด BCG


               กระทรวงการอ
               กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สํานักงานปลัดกระทรวงุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สํานักงานปลัดกระทรวง
       การอุดมศึกษาวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) กรมวิทยาศาสตรบริการ (วศ.) สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
       สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) และมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) ลงนามความรวมมือกับจังหวัดสตูล
       เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2565 ที่ผานมา โดยพิธีลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือ “การพัฒนาจังหวัดสตูลสูความยั่งยืน
       ภายใตแนวทางการพัฒนา BCG” ระหวาง สป.อว. วศ. วช. ปส. มรภ.สงขลา และจังหวัดสตูล โดยมี นายเอกรัฐ หลีเส็น
       ผูวาราชการจังหวัดสตูล นางสาวสุณีย เลิศเพียรธรรม หัวหนาผูตรวจราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
       วิจัยและนวัตกรรม ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ นางสาวภัทริยา ไชยมณี รองอธิบดี
       กรมวิทยาศาสตรบริการ นางสุชิน อุดมสมพร รองเลขาธิการสํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ และ รองศาสตราจารย ดร.ทัศนา
       ศิริโชติ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา รวมกันลงนามในครั้งนี้ ซึ่งมี ศาสตราจารย ดร. นายแพทยสิริฤกษ
       ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เปนสักขีพยานพิธีลงนามดังกลาว
               โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําองคความรูสมัยใหมพัฒนาสูจังหวัดสีเขียว รวมถึงทําใหจังหวัดสตูลเปน
       เขตเศรษฐกิจพิเศษทางมรดกวัฒนธรรม ผานอุทยานธรณีโลก “สตูลจีโอพารค” พรอมตอยอดผลิตภัณฑพริกไทย
       สุไหงอุเปเปนสินคาอัตถลักษณ สรางสินคาปลอดสารเคมี เปนการนําองคความรูและงานวิจัยตาง ๆ มาบูรณาการ
       เพื่อพัฒนาพื้นที่อุทยานธรณีโลกสตูล ใหเปนเขตเศรษฐกิจพิเศษทางมรดกทางวัฒนธรรม ขับเคลื่อนการพัฒนา
       เพื่อพัฒนาพื้นที่อุทยานธรณีโลกสตูล ใหเปนเขตเศรษฐกิจพิเศษทางมรดกทางวัฒนธรรม ขับเคลื่อนการพัฒนา
       อยางยั่งยืนดวยเศรษฐกิจ BCG ใหเกิดเศรษฐกิจมูลคาสูงตอไป
       อยางยั่งยืนดวยเศรษฐกิจ BCG ใหเกิดเศรษฐกิจมูลคาสูงตอไป

                             วช. โชวนวัตกรรมเทคโนโลยี “โดรน” ผานการสื่อสารไรพรมแดนดวยระบ
                             วช. โชวนวัตกรรมเทคโนโลยี “โดรน” ผานการสื่อสารไรพรมแดนดวยระบ
                             วช. โชวนวัตกรรมเทคโนโลยี “โดรน” ผานการสื่อสารไรพรมแดนดวยระบบ 5G บ 5G บ 5G
                                                 ประยุกตใชงานดานการพัฒนาในพื้นที่สูง


                                         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สนับสนุน
                                  ทุนวิจัยโครงการ “การถายทอดเทคโนโลยีโดรนระบบอัตโนมัติเพื่อประยุกตใชงานการพัฒนาพื้นที่สูง (การสํารวจ การเกษตร
                                  และการปองกันอุบัติภัย)” ใหแก นายพิศิษฐ มิตรเกื้อกูล นายกสมาคมกีฬาเครื่องบินจําลองและวิทยุบังคับ และคณะ
                                  เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการบังคับโดรนอัตโนมัติระยะไกลใหกาวลํ้านําสมัยผานการสื่อสารไรพรมแดนดวยระบบ 5G
                                  และประยุกตใชบริหารจัดการและกิจกรรมดานงานพัฒนาในพื้นที่สูง พรอมโชวประสิทธิภาพการใชงานแกสาธารณชน
                                  เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2565 ณ ปางแฟน Rock n’ River อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม
                                         วช. มีบทบาทสําคัญในการใหทุนสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมที่สําคัญของประเทศ โดยที่ผานมา นวัตกรรม
                                  ที่ วช. ใหการสนับสนุนไดนําไปตอยอดและใชประโยชนจริงหลายโครงการ สําหรับนวัตกรรมอากาศยานไรคนขับไดนํามาสู
                                  การตอยอดความกาวหนาทางเทคโนโลยีดานอากาศยานการบินไรคนขับกอใหเกิดการพัฒนาและวิวัฒนาการทางเทคโนโลยี
                                  ในยุคปจจุบันที่มีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศในการนําเทคโนโลยีสมัยใหมดานการสื่อสารทางไกลผานดาวเทียม
                                  มาประยุกตใชใหเกิดประโยชนอยางสูงสุดจะมีสวนชวยใหการดํารงชีวิตประจําวันของมนุษยมีความสะดวกสบายยิ่งขึ้น
                                  รวมถึงเพื่อประโยชนทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ โดยมี นายพิศิษฐ มิตรเกื้อกูล เปนหัวหนาโครงการวิจัย
                                         สําหรับโครงการ “การถายทอดเทคโนโลยีโดรนระบบอัตโนมัติเพื่อประยุกตใชงานการพัฒนาพื้นที่สูง (การสํารวจ
                                  การเกษตร และการปองกันอุบัติภัย)” ไดมุงเนนสูการพัฒนาเพื่อถายทอดเทคโนโลยีโดรนระบบอัตโนมัติอากาศยาน
                                  ไรคนขับ เพื่อประยุกตใชงานการพัฒนาพื้นที่สูง การสํารวจ การเกษตร และการปองกันอุบัติภัย คณะนักวิจัยพรอม
       ทดสอบประสิทธิภาพการทํางานระบบควบคุมอากาศยานไรคนขับ (UAV) อัตโนมัติ ผานระบบเครือขาย network 4G/5G ใหแกคณะผูบริหาร ผูทรงคุณวุฒิ วช.
       คณะสื่อมวลชน และประชาชนในพื้นที่ อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม โดยการโชวการควบคุมโดรนจากหองสั่งการที่กรุงเทพมหานครผานระบบเครือขาย
       network 4G/5G ไมวาจะอยูที่ไหนบนพื้นที่ของประเทศไทยและทั่วทุกมุมโลกก็สามารถควบคุมและสั่งการโดรนไดดวยเทคโนโลยีสุดลํ้านําสมัยกอใหเกิดประโยชน
       อยางสูงสุดกับทุกภาคสวน ประชาชน และประเทศชาติตอไป



                                 ประกาศสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
           “นโยบายและแนวปฏิบัติธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ”


               สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยกองระบบ
        และบริหารขอมูลเชิงยุทธศาสตรดานวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ไดกําหนดใหเผยแพรประกาศสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
        เรื่อง “นโยบายและแนวปฏิบัติธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ” ใหสาธารณชนไดรับทราบ โดยทานสามารถ
        อานรายละเอียดไดทางลิงก https://www.nrct.go.th/Portals/0/Document/policydata.pdf หรือสแกน QR Code นี้
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         15
   10   11   12   13   14   15   16