Page 10 - จดหมายข่าว วช 135
P. 10

งานวิจัย : สาธารณสุข



          โครงการวิจัยตรวจเศษซาก RNA ของ SARS-CoV-2 ในนํ้าเสียชุมชน ในจังหวัดพิษณุโลก















               ดร.วิภารัตน ดีออง
          ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
                 แมŒผูŒติดเชื้อโควิด-19 จะยังไม‹ถึง 50,000 คนต‹อวัน ตามที่ กับการเริ่มการระบาดของสายพันธุโอมิครอนในจังหวัดพิษณุโลก
          หลายหน‹วยงานการคาดการณ แต‹ผูŒเสียชีวิตก็สูงกว‹า 100 คนต‹อวัน ทําใหประชาชนตระหนักถึงความเสี่ยงที่ใกลตัวมาก จึงออกมาฉีดวัคซีน
          มาอย‹างต‹อเนื่อง สาเหตุหนึ่งเพราะการฉีดวัคซีนเข็มกระตุŒนยังมีแค‹ 36.8%  ในชวงระหวางวันที่ 11 - 28 มกราคม 2565 (18 วัน) โดยเฉลี่ย
          ของประชากรทั้งประเทศเท‹านั้น ทั้งนี้ วัคซีนเข็มกระตุŒนมีความจําเปšนดŒวย สูงขึ้นกวา 40% (เฉลี่ย 3,176 ± 2,068 เข็มตอวัน) เมื่อเทียบกับ
          สามารถลดการป†วยหนัก/เสียชีวิตไดŒถึง 98%             การฉีดวัคซีนเฉลี่ย (2,022 ± 1,979 เข็มตอวัน) ในชวงระหวาง
                 จังหวัดพิษณุโลกจึงไดนํารองใชแผนที่เศษซาก RNA ของไวรัส  วันที่ 5 - 10 มกราคม 2565 (6 วัน) ซึ่งเปนชวงหลังพบผูติดเชื้อสายพันธุ
          SARS-CoV2 ในนํ้าเสียชุมชนเพื่อสื่อสารความเสี่ยง เตือนภัยลวงหนา  โอมิครอนในจังหวัดพิษณุโลก 3 คนแรก
          รณรงคเชิงรุก กระตุนใหประชาชนออกมาฉีดวัคซีนเข็ม 3 ซึ่งการดําเนินงาน  นอกจากนี้ ระยะเวลาทั้ง 2 ชวง ที่นํามาเปรียบเทียบกัน
          ประสบความสําเร็จเชิงประจักษ โดยสามารถเพิ่มอัตราการฉีดวัคซีน ดังกลาว หากเปรียบเทียบวันที่มีผูมาฉีดวัคซีนตอวันมากที่สุด และนอย
          เข็ม 3 ได 40% ซึ่งชวยลดความเสียหายตอสุขภาพและชีวิตไดมาก ที่สุด พบวาในชวงการรณรงคดวยแผนที่ความเสี่ยงจากซากเชื้อฯ ทําให
          ดังที่กลาวไปแลวขางตน ในชวงเวลาการรณรงค 18 วัน นับวาประสบ มีผูมาฉีดวันซีนเพิ่มขึ้น 64% และ 810% ในวันที่มีผูมาฉีดวัคซีนตอวัน
          ความสําเร็จเปนอยางดี                              มากที่สุด และนอยที่สุด ตามลําดับหากเปรียบเทียบกับชวงที่เพิ่งพบ
                 เศษซาก RNA ของไวรัส SARS-CoV-2 ในนํ้าเสียชุมชนไมมีโทษ  ผูติดเชื้อสายพันธุโอมิครอนในจังหวัดพิษณุโลก 3 คนแรก
          และไมทําใหเกิดการติดเชื้อได แตมีประโยชนคือสามารถใชเปนตัวชี้วัด  โดยรวมในรอบ 18 วันของการรณรงคเพิ่มผูฉีดวัคซีน
          ทางชีวภาพได โดยสามารถใชคาดการณจํานวนของผูติดเชื้อในชุมชน เข็มกระตุนไดมากกวากรณีที่ไมมีการรวมรณรงคดวยแผนที่ความเสี่ยง
          ลวงหนาไดประมาณ 10 วัน วามีปริมาณมาก - นอยเพียงไร สําหรับ จากเศษซากเชื้อฯ ถึง 20,788 คน ลดโอกาสปวยรุนแรง 28 คน และ
          สายพันธุโอมิครอน ซึ่งการคาดการณผูติดเชื้อคงคางทั้งแสดงและ ลดโอกาสเสียชีวิต 10 คน ทําใหลดมูลคาความเสียหายตอสุขภาพและ
          ไมแสดงอาการ สามารถคํานวณไดจากความเขมขนของ RNA ของไวรัส ชีวิตประมาณ 122 ลานบาท เมื่อประเมินจากคารักษาผูปวยหนักและ
          ในนํ้าเสีย ซึ่งทําใหสามารถสรางแผนที่ความเสี่ยงในการอยูในชุมชน ประเมินจากมูลคาชีวิตสําหรับกรณีเสียชีวิต
          ที่มีผูติดเชื้อมาก - นอยตางกันได ทําใหประชาชนในชุมชนเห็นถึง  จังหวัดพิษณุโลกแสดงใหเห็นวาความตระหนักของความเสี่ยง
          ความเสี่ยงจากการมีผูติดเชื้ออยูในชุมชนที่ไมรูตัวและไมแสดงอาการ ที่ใกลตัวจากแผนที่ความชุกของโรคในชุมชนมีอิทธิพลทําใหประชาชน
          แตอาจเปนพาหะแพรเชื้อได ซึ่งทําใหเกิดการติดเชื้อไปยังผูอื่นได   บริหารความเสี่ยงดวยการฉีดวัคซีนเข็มกระตุน การประยุกตใช
                 คณะกรรมการโรคติดตอ และสํานักงานประชาสัมพันธจังหวัด นวัตกรรมการตรวจเศษซาก RNA ของไวรัสในนํ้าเสียจะชวยหนวยงาน
          พิษณุโลก ใชแผนที่คาดการณผูติดเชื้อจากเศษซาก RNA ของไวรัส ราชการและภาครัฐในพื้นที่อื่น ๆ สื่อสารความเสี่ยงตอประชาชน เพิ่มอัตรา
          ในนํ้าเสียชุมชนจากรอบการเก็บตัวอยางวันที่ 5 มกราคม 2565 รณรงค การฉีดวัคซีนเข็มกระตุน ลดความเสียหายตอชีวิตและเศรษฐกิจของ
          ใหประชาชนออกมาฉีดวัคซีนเข็มกระตุน โดยแสดงใหเห็นการติดเชื้อ ประเทศในองครวมได
          ในชุมชนที่เพิ่มขึ้นจํานวนมาก ที่กําลังจะตรวจพบในอีก 10 วันขางหนา  โครงการวิจัยตรวจเศษซาก RNA ของ SARS-CoV-2 ในนํ้าเสีย
          โดยอาศัยการคาดการณจากซากเชื้อ RNA ของไวรัส อันมีความสอดคลอง ขุมชนในครั้งนี้ ดําเนินการโดยคณะนักวิจัย แหง คณะวิศวกรรมศาสตร
                                                              และคณะวิทยาศาสตรการแพทย จากมหาวิทยาลัยนเรศวร โดยมี
                                                              ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธนพล เพ็ญรัตน เปนหัวหนาโครงการวิจัย
                                                              ซึ่งผลงานวิจัย “โครงการวิจัยตรวจเศษซาก RNA ของ SARS-CoV-2
                                                              ในนํ้าเสียขุมชน ในจังหวัดพิษณุโลก” นี้ ไดรับทุนสนับสนุนการวิจัย
                                                              จากสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) โดยงบประมาณจากกองทุน
                                                              สงเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม สํานักงานคณะกรรมการ
                                                              สงเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงการอุดมศึกษา
                                                              วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.)


                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         10                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15