Page 8 - จดหมายข่าว วช 135
P. 8

งานวิจัย : การแพทย



           “ทําอย‹างไรคนไทยจะไม‹ใหลตาย”


















         ศาสตราจารย นายแพทยยง ภูวรวรรณ   ดร.วิภารัตน ดีออง   ศาสตราจารย นายแพทยกุลวี เนตรมณี
                  ที่ปรึกษา        ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ  หัวหนาโครงการวิจัย

                 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา  ก็ดูวาปกติดี แตพบวาเสียชีวิตในตอนเชารุงของอีกวัน ซึ่งเปนภาวะ
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สนับสนุนทุนวิจัยโครงการ เรื่อง  เสียชีวิตกะทันหันโดยไมมีสัญญาณเตือนมากอน นอกจากเกิดจาก
          “ทําอยางไรคนไทยจะไมใหลตาย: การคนหาสาเหตุทางพันธุกรรมและ ภาวะหัวใจเตนผิดจังหวะ ซึ่งนอกจากสาเหตุดังที่กลาวมาแลว ยังพบวา
          การรักษาโรคใหลตาย” ใหŒแก‹ ศาสตราจารย นายแพทยกุลวี เนตรมณี และคณะ  การใหลตายขณะที่นอนหลับพักผอน อาจพบไดในขณะตื่นหรือใชชีวิต
          แห‹ง คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยมี ศาสตราจารย  ประจําวัน โดยจะมีอาการใจสั่นชวงสั้น ๆ หรืออาการวูบเปนลมหมดสติ
          นายแพทยยง ภู‹วรวรรณ เปšนที่ปรึกษา เพื่อศึกษาหาสาเหตุทางพันธุกรรม หลับแลวไมตื่น ผูเสียชีวิตจากโรคใหลตายสวนใหญพบไดในทุกภาค
          และการรักษาโรคใหลตายภัยเงียบที่ทําใหŒคนนอนหลับเสียชีวิต   ของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคอีสานและภาคเหนือ แตก็พบไดบางใน
                 “โรคใหลตาย” เปนโรคที่เปนภัยเงียบ เปนสาเหตุหนึ่งที่ ผูหญิง เด็ก และผูสูงอายุ โดยประวัติของบุคคลในครอบครัวทําใหบงชี้
          สามารถเกิดขึ้นไดกับทุกเพศทุกวัยในสังคมไทย และยังคงมีผูเสียชีวิต ไดวาพันธุกรรมเปนสาเหตุหลักที่สําคัญอยางหนึ่งของการเกิดโรคใหลตาย
          จากโรคใหลตายอยางตอเนื่อง จากที่กลาวมา วช. ไดตระหนักถึงความ  ทีมนักวิจัยไดทําการคนควาและศึกษา “ทําอยางไรคนไทยจะ
          สําคัญของการแพทยที่จะไดชวยแกไขปญหาและหาสาเหตุของการเกิด ไมใหลตาย” ซึ่งคนพบวา ปจจัยที่ทําใหเกิด “โรคใหลตาย (Brugada
          โรคใหลตาย จึงไดสนับสนุนทุนวิจัยแก คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณ syndrome)” จากพันธุกรรมของโรคใหลตายในผูปวย 239 คน และ
          มหาวิทยาลัย ดําเนินโครงการโดย ศาสตราจารย นายแพทยกุลวี เนตรมณี  กลุมควบคุมจํานวน 478 คน โดยวิธีถอดรหัสพันธุกรรมของมนุษย
          และคณะ เพื่อการศึกษาหาสาเหตุทางพันธุกรรมและการรักษาโรคใหลตาย  ทั้งหมด (Whole genome sequencing) พบวา จํานวนประมาณ 15%
          โดยการนําองคความรูตาง ๆ มาตอยอดเพื่อใชเปนแนวทางในการ มีความเกี่ยวของกับการกลายพันธุในยีน SCN5A โดยประมาณครึ่งหนึ่ง
          รักษาโรคใหลตาย และเพื่อประโยชนในวงการทางการแพทย และ กลายพันธุชนิด p.R965C ดังนั้น จึงมีปจจัยอื่น ๆ ที่เขามารวมทําให
          เพื่อประโยชนตอสังคมสวนรวมของประเทศชาติตอไป      เกิดโรคดังกลาว ซึ่งพบวาผูปวยสวนใหญที่เปนโรคนี้สาเหตุเกิดจากการ
                 ศาสตราจารย นายแพทยกุลวี เนตรมณี หัวหนาโครงการวิจัย  เกิดโรคทางพันธุกรรมที่มีความซับซอนโรคแบบพหุยีน (Polygenic)
          ไดกลาวถึงผลการศึกษา “โรคใหลตาย” พบวา มีสาเหตุที่สําคัญคือ  ซึ่งการคนพบนี้สามารถนํามาพัฒนาในการศึกษาวิจัยเพื่อลดความเสี่ยง
          ความผิดปกติจากการเตนของหัวใจ จนทําใหไมสามารถสูบฉีดเลือด จากการเกิดโรคดังกลาวนี้ได
          ไปเลี้ยงอวัยวะสวนตาง ๆ ได โดยเฉพาะในสวนของสมอง ซึ่งเมื่อสมอง  ทั้งนี้ จากการคนพบตัวการของการเกิดโรคใหลตาย จากการ
          ขาดออกซิเจนอาจแสดงอาการชักเกร็ง หายใจมีเสียงครืดคราดผิดปกติ ถอดรหัสพันธุกรรมของมนุษยนั้น ซึ่งองคความรูที่ไดรับจากการ
          คลายคนนอนละเมอ เรียกไมรูตัว ความผิดปกติมักพบขณะนอนหลับสนิท  ศึกษาวิจัยพบวา มียีนที่เกี่ยวของ ไดแก SCN5A, SCN10A และ HEY2
          และอาจเกิดในผูชายที่มีสุขภาพแข็งแรง ที่มีอาการกอนเขานอน
          และอาจเกิดในผูชายที่มีสุขภาพแข็งแรง ที่มีอาการกอนเขานอน โดยการคนพบสาเหตุของการเกิดโรคสามารถนํามาสูการตอยอดที่จะมี
                                                              สวนสําคัญตอกระบวนการทางการแพทยของไทย “โรคใหลตาย (Brugada
                                                              syndrome)” สามารถรักษาได ถาไดรับการวินิจฉัยที่ถูกตอง โดยผูปวย
                                                              เสี่ยงสูงจะไดรับการใสเครื่องกระตุกหัวใจอัตโนมัติ (Implantable
                                                              cardioverter-defibrillator) ผลการรักษาโรคดังกลาวนี้ ดวยการจี้
                                                              ทําลายจุดที่ผิดปกติในหัวใจดวยคลื่นวิทยุ (RF ablation) เทียบกับ
                                                              การรักษามาตรฐานในปจจุบัน ซึ่งผลการรักษายังไดรับการติดตาม
                                                              อยูในขณะนี้จะเปนการนําไปสูแนวทางการรักษาโรคไดในอนาคต
                                                              โดยการพัฒนาเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดจากการศึกษารหัสพันธุกรรม
                                                              ของมนุษยนั้นจะนําไปสูแนวทางของการรักษาโรคใหลตายที่อาจ
                                                              เกิดขึ้นไดกับทุกคนและทุกกลุมวัยในสังคมและเพื่อประโยชนทาง
                                                              การแพทยตอไป
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13