Page 10 - จดหมายข่าว วช 136
P. 10

งานวิจัย : ดานความปลอดภัยทางถนน


              การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของอุบัติเหตุทางถนน
              การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของอุบัติเหตุทางถนน
              การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของอุบัติเหตุทางถนน

                                                              วิธีการที่ใชอางอิงทางวิชาการของประเทศได เพื่อใหหนวยงานดานนโยบายิธีการที่ใชอางอิงทางวิชาการของประเทศได เพื่อใหหนวยงานดานนโยบาย
                                                              ว วิธีการที่ใชอางอิงทางวิชาการของประเทศได เพื่อใหหนวยงานดานนโยบาย
                                                              นําไปใชเปนเกณฑการอางอิงในการตัดสินใจทางนโยบายตอไป
                                                              นําไปใชเปนเกณฑการอางอิงในการตัดสินใจทางนโยบายตอไป
                                                                     ทั้งนี้ โครงการวิจัยฯ มีการดําเนินการเพื่อวิเคราะหมูลคาความ
                                                              สูญเสียจากอุบัติเหตุทางถนนของไทย โดยการประเมินมูลคาชีวิตเชิงสถิติ
                                                              สูญเสียจากอุบัติเหตุทางถนนของไทย โดยการประเมินมูลคาชีวิตเชิงสถิติ
                                                              (Value of Statistical Life: VSL) ดวย 2 วิธี ไดแก 1) วิธีทุนมนุษย (Human
                                                              (Value of Statistical Life: VSL) ดวย 2 วิธี ไดแก 1) วิธีทุนมนุษย (Human
                                                              Capital Approach: HCA) ซึ่งเปนการประเมินคาใชจายที่สูญเสียไปจริง
                                                              Capital Approach: HCA) ซึ่งเปนการประเมินคาใชจายที่สูญเสียไปจริง
                                                              รวมกับตนทุนคาเสียโอกาสจากการขาดรายไดในการทํางานในอนาคตของ
                                                              รวมกับตนทุนคาเสียโอกาสจากการขาดรายไดในการทํางานในอนาคตของ
                                                              ผูประสบอุบัติเหตุ และ 2) วิธีความพึงพอใจที่จะจาย (Willingness to Pay
                                                              ผูประสบอุบัติเหตุ และ 2) วิธีความพึงพอใจที่จะจาย (Willingness to Pay
                                                              Approach: WTP) โดยประเมินจากผลรวมของความยินดีที่จะจายเงินเพื่อลด
                                       ดร.สุเมธ องกิตติกุล    Approach: WTP) โดยประเมินจากผลรวมของความยินดีที่จะจายเงินเพื่อลด
                              ผูอํานวยการวิจัย ดานนโยบายการขนสง และโลจิสติกส   ความเสี่ยงจากอุบัติเหตุทางถนนของประชาชนในสังคม จากการสํารวจกลุม
          ดร.วิภารัตน ดีออง   มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)  ตัวอยางกวา 5,000 ตัวอยาง นอกจากนี้ งานวิจัยยังไดแสดงตัวอยางการนํา
     ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ  หัวหนาโครงการวิจัย
                                                              มูลคาความสูญเสียไปประเมินความคุมคาของมาตรการที่มีการดําเนินการ
              อุบัติเหตุบนทŒองถนนไม‹เพียงแต‹ส‹งผลกระทบแค‹ผูŒประสบภัย ครอบครัว  ในประเทศไทยดวย
       และญาติของผูŒประสบภัยเท‹านั้น แต‹ยังทําใหŒเกิดความสูญเสียทั้งต‹อเศรษฐกิจและ  โดยจากการดําเนินงานวิจัยมีผลผลิตของโครงการ 3 ดานหลักที่จะ
       สังคมไทย สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร  สามารถนําไปตอยอดใชประโยชนในอนาคตไดคือ 1) ขอเสนอการกําหนดเบี้ย
       วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จึงไดŒใหŒทุนสนับสนุนกับโครงการวิจัย “การศึกษาผลกระทบ ประกันภัยรถยนต 2) การประเมินความคุมคาของโครงการลงทุนดานความ
       ทางเศรษฐกิจและสังคมของอุบัติเหตุทางถนน”แก‹ ดร.สุเมธ องกิตติกุล จากมูลนิธิ ปลอดภัยทางถนนดวยวิธีการวิเคราะหตนทุนผลได (CBA) และ 3) แนวทาง
       สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) หัวหนŒาโครงการวิจัย และคณะ  การประยุกตวิธีการประเมินมูลคาความสูญเสียจากเหตุทางถนนของไทยกับ
       เพื่อวิเคราะหมูลค‹าความสูญเสียจากอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทย เพื่อใหŒ การกําหนดนโยบาย
       หน‹วยงานดŒานนโยบายสามารถนําไปใชŒเปšนเกณฑการอŒางอิงในการตัดสินใจทาง  ดังนั้น จึงคาดหวังใหหนวยงานรัฐหรือผูกําหนดนโยบายจะนํา
       นโยบายและประเมินผลกระทบของมาตรการดŒานความปลอดภัยทางถนน   ผลการวิเคราะหมูลคาความสูญเสียที่ประเมินไดจากงานวิจัยไปใชเปนคา
              ดร.สุเมธ องกิตติกุล ผูอํานวยการวิจัย ดานนโยบายการขนสง และ อางอิงในการพิจารณาผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นจากอุบัติเหตุ
       โลจิสติกส มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ไดสรุปผล ทางถนนของไทย และกําหนดนโยบายและกลยุทธในการจัดสรรนโยบาย
       การศึกษาวิจัยวา เนื่องจากอุบัติเหตุทางถนนของไทยยังเปนปญหาที่มีความ ดานความปลอดภัยทางถนนในระดับประเทศใหมีความชัดเจน ซึ่งผูกําหนด
       รุนแรง โดยมีจํานวนผูเสียชีวิตกวา 20,000 รายตอป ที่ผานมาการดําเนินงาน การประเมินสามารถประเมินความคุมคาในการลงทุนในโครงการดานความ
       เพื่อลดอุบัติเหตุบนทองถนนในประเทศไทยยังไมมีประสิทธิผลและไมสามารถ ปลอดภัยทางถนนได เพื่อใหสามารถกําหนดงบประมาณของโครงการที่ทําให
       บรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไวได ซึ่งอุบัติเหตุทางถนนนั้นนอกจากจะกอ มาตรการดานความปลอดภัยทางถนนที่ความยั่งยืนและเปนไปในทิศทาง
       ใหเกิดความเสียหายตอชีวิต จิตใจ และทรัพยสินของผูประสบอุบัติเหตุและ ที่ถูกตอง โดยผูกําหนดนโยบายสามารถติดตามและประเมินผลของการดําเนิน
       ครอบครัวแลว ยังกอใหเกิดตนทุนทางสังคมจากการจัดการอุบัติเหตุและ มาตรการตาง ๆ ไดอยางเปนระบบ มีการบริหารทรัพยากรในการดําเนิน
       ปญหาการจราจร รวมไปถึงเปนอุปสรรคตอการพัฒนาเศรษฐกิจจากการ นโยบายอยางมีประสิทธิภาพตอไป
       ขาดแรงงานอีกดวย                                              สําหรับผลการวิจัยนี้ไดมีการเผยแพรในหนวยงานที่เกี่ยวของ และ
              อยางไรก็ตาม การศึกษาที่ผานมาของไทยสวนใหญเปนการประเมิน ผลักดันเขาสู (ราง) แผนแมบทดานความปลอดภัยทางถนน ฉบับที่ 5 อีกทั้ง
       มูลคาความสูญเสียจากอุบัติเหตุทางถนนดวยวิธีทุนมนุษย ซึ่งยังมีขอจํากัด จะมีการนําเสนอในงานสัมมนาวิชาการระดับชาติ ดานความปลอดภัยทางถนน
       ในการคํานวณตนทุนจากอุบัติเหตุทางถนนบางประเภท และยังไมสะทอน ครั้งที่ 15 ในหัวขอ “ทศวรรษใหม วิถีใหม ขับขี่ปลอดภัยตองมากอน”
       ตนทุนของปจเจกบุคคลทั้งหมด ทั้งนี้ หากมีการประเมินมูลคาความสูญเสีย  สําหรับสถานการณการเสียชีวิตที่เกิดจากอุบัติเหตุบนทองถนนใน
       ที่สวนกลางและใหการรับรองวา สะทอนสถานการณของประเทศ ทั้งดานการ ประเทศไทยในปจจุบัน ผลจากการวิเคราะห 3 ฐานขอมูลของกรมควบคุมโรค
       รวบรวมแหลงขอมูลและวิธีการศึกษาจะมีประโยชนตอการวางแผนการดําเนิน พบวา ผูเสียชีวิตมีแนวโนมลดลง โดยในชวง 2 ปหลัง (พ.ศ. 2563 - พ.ศ. 2564)
       นโยบายความปลอดภัยทางถนน รวมถึงนโยบายบริหารจัดการโครงสราง มีผูเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนรวม 34,788 คน เฉลี่ยปละไมถึง 20,000 คน
       พื้นฐานระบบขนสงและโลจิสติกสไดดียิ่งขึ้น             ซึ่งอาจเกิดจากสถานการณการระบาดของโรคโควิด-19 ในชวง 2 ปที่ผานมา
              จากความสําคัญของปญหาดังกลาว ทีมวิจัยจึงไดทําโครงการศึกษา  ที่สงผลใหการเดินทางลดลง อยางไรก็ตาม จํานวนอุบัติเหตุมีแนวโนมลดลง
       “ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของอุบัติเหตุทางถนน” เพื่อวิเคราะหมูลคา ไดอีก หากการดําเนินงานดานความปลอดภัยทางถนนเปนไปในทิศทาง
       ความสูญเสียจากอุบัติเหตุทางถนนของไทยใหสามารถพัฒนาไปสูผลลัพธและ เดียวกัน ไมวาจะเปนมาตรการดานความปลอดภัยทางถนน การลงทุนดาน
                                                                                          โครงสรางพื้นฐาน และการดําเนินงาน
                                                                                          ของหนวยงานที่เกี่ยวของใหมี
                                                                                          การบูรณาการรวมกันและเปนไป
                                                                                          ในทิศทางเดียวกัน

                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         10                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15