Page 6 - จดหมายข่าว วช 136
P. 6

กิจกรรม วช.

                                    สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษประจําประเทศไทยจัดงานเฉลิมฉลองัครราชทูตอังกฤษประจําประเทศไทยจัดงานเฉลิมฉลองัครราชทูตอังกฤษประจําประเทศไทยจัดงานเฉลิมฉลอง
                                    สถานเอกอ
                                    สถานเอกอ
                               เนื่องในโอกาสที่สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แหงสหราชอาณาจักร

                                                      ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 70 ป

                                     ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ เขารวมงานเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสที่
                             สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แหงสหราชอาณาจักร ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 70 ป ตามคําเชิญของ
                             สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษประจําประเทศไทย โดยงานดังกลาวมี ทานมารค กูดดิ้ง (Mr. Mark Gooding OBE)
                             เอกอัครราชทูตอังกฤษประจําประเทศไทย เปนประธาน จัดขึ้นเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 2 มิถุนายน 2565 ณ หองแกรนด
            ดร.วิภารัตน ดีออง
      ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ  บอลรูม โรงแรมโฟรซีซั่นส กรุงเทพมหานคร
                                                   สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ
                                           นวัตกรรม (อว.) มีความรวมมือกับ British Council (BC) ในการสนับสนุนโครงการ Newton
                                           Fund - NRCT Thailand Research and Innovation Partnership Fund ตั้งแตป
                                           พ.ศ. 2564 โดยมี คุณเฮลกา สเตลมาเกอร (Helga Stellmacher) เปนผูอํานวยการบริติช
                                           เคานซิล (ประเทศไทย) ซึ่งไดเขารวมในงานดังกลาว นอกจากนี้ ยังมีผูเขารวมงานประกอบดวย
                                           อัครราชทูตอื่น ๆ ประจําประเทศไทยจาก 44 สถานทูต รัฐมนตรี ผูบริหารสถาบันและผูแทนจาก
                                           หนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน


        วช. รวมนําเสนอแนวทางการใหทุนวิจัยแบบพหุภาคีในเวทีการประชุมสภาวิจัยโลก

            (Global Research Council: GRC) ประจําป 2565 ณ ประเทศปานามา


               ดร.วิภารัตน ดีอ‹อง ผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ  การวิจัยเปาหมายของ e-ASIA JRP และ
        และ Governing Board Member of Global Research Council (GRC)  เปนการเปดโอกาสใหนักวิจัยไทยไดมี
        ร‹วมนําเสนอแนวทางการใหŒทุนวิจัยแบบพหุภาคีในการประชุมหัวขŒอ “Multilateral  โอกาสพัฒนาขอเสนอโครงการรวมกับ
        funding for research: What are the challenges? What is the role of  นักวิจัยจากประเทศสมาชิกอื่น ๆ จาก
        the GRC?” ซึ่งจัดขึ้นภายใตŒการประชุมสภาวิจัยโลก (GRC) ประจําป‚ 2565 ทั่วทุกมุมโลก
        เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2565 ที่ผานมา ณ ประเทศปานามา ในรูปแบบ   สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)   ดร.วิภารัตน ดีออง
        Hybrid รวมกับผูแทนอีก 4 หนวยงาน ไดแก 1) Dr. Pavel Kabat จาก ภายใตกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร   ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
        โปรแกรม The Human Frontier Science Programme (HFSP)  วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ไดเขารวมการประชุม GRC Annual Meeting
        2) Dr. Maria Uhle จากโปรแกรม Belmont Forum 3) Dr. Marc Schiltz,  อยางตอเนื่องทั้งหมด 3 ครั้ง ครั้งแรกในป พ.ศ. 2557 ณ สาธารณรัฐ
        President of Science Europe จากโปรแกรม Weave และ 4) Prof.  ประชาชนจีน และครั้งที่ 2 ในป พ.ศ. 2558 ณ ประเทศญี่ปุน และ
        Fulufhelo Nelwamondo, CEO of National Research Foundation,  ครั้งสุดทายเมื่อเดือนพฤษภาคม 2561 โดย ศาสตราจารย ดร. นายแพทย
        South Africa จากโปรแกรม SDG GRC Pilot                 สิริฤกษ ทรงศิวิไล อดีตเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ณ สหพันธรัฐ
               ดร.วิภารัตนฯ ไดกลาวถึง e-ASIA Joint Research Program หรือ  รัสเซีย และเขารวม GRC Regional Meeting ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก
        e-ASIA JRP วาเปนโครงการความรวมมือแบบพหุภาคีในระดับนานาชาติ 4 ครั้ง ครั้งแรกในป พ.ศ. 2555 ณ ประเทศญี่ปุน ครั้งที่ 2 ในป พ.ศ. 2556
        ที่ประสบความสําเร็จของภูมิภาคเอเชียแปซิฟก มีสมาชิกรวม 15 ประเทศ  ณ สาธารณรัฐเกาหลี และถัดมาในป พ.ศ. 2562 ดร.วิภารัตน ดีออง
        22 หนวยงาน ไดแก ประเทศอาเซียน 10 ประเทศ และมีประเทศที่สนใจ รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติในขณะนั้น ไดเขารวมประชุม
        เขารวม เชน ออสเตรเลีย ญี่ปุน นิวซีแลนด จีน อินเดีย เกาหลีใต รัสเซีย และ ณ ประเทศอินโดนีเซีย และในป พ.ศ. 2564 เมื่อเดือนกุมภาพันธ ไดเขารวม
        สหรัฐอเมริกา เพื่อสนับสนุนการวิจัยรวมระหวางประเทศในภูมิภาคเอเชีย ประชุม ในฐานะรักษาการผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ผาน
        ตะวันออกบนพื้นฐานความรวมมือแบบพหุภาคีในรูปแบบ “Co-funding”   การประชุมออนไลน โดยมี ศาสตราจารย ดร. นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล
        ทั้งนี้ วช. ไดเขารวม e-ASIA JRP เมื่อป พ.ศ. 2562 เนื่องจากเล็งเห็นความ ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เขารวม
        คลายคลึงกันระหวางสาขาการวิจัยที่เปน Priority ของ วช. กับกลุมสาขา การประชุมดวย













                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          6                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11