Page 10 - จดหมายข่าว วช 141
P. 10

กิจกรรม วช.




       การขับเคลื่อนแนวพระราชดําริดŒานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลŒอม
       ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ดŒวยวิทยาศาสตร วิจัย และนวัตกรรม





                                                                 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ
                                                           นวัตกรรม โดยสํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ สํานักงานนวัตกรรมแห‹งชาติ
                                                       (องคการมหาชน) และสถาบันสารสนเทศทรัพยากรนํ้า (องคการมหาชน) ร‹วมกัน
                                                    ลงนามความร‹วมมือ “การขับเคลื่อนแนวพระราชดําริดŒานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลŒอม
                                                  ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ดŒวยวิทยาศาสตร
                                                วิจัย และนวัตกรรม” เพื่อเชื่อมโยงหน‹วยงานภายใตŒกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
                                              ใหŒร‹วมกันสืบสาน รักษา ต‹อยอดแนวพระราชดําริ พรŒอมการส‹งเสริม ผลักดันงานวิจัย และนวัตกรรมไปสู‹การ
                                             ใชŒประโยชนอย‹างเปšนรูปธรรม รวมถึงการยกระดับทักษะเทคโนโลยีและความสามารถทางนวัตกรรมของกลุ‹มเป‡าหมาย
                                                                    โดย ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหล‹าธรรมทัศน รัฐมนตรีว‹าการกระทรวง
                                                                      การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เปšนประธานในพิธีเปด
                                                                       การลงนามฯ พรŒอมมอบนโยบาย “การขับเคลื่อนการทํางานของหน‹วยงาน
                                                                       ภายใตŒกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม” และ
                                                                       มอบโล‹รางวัลวิศวนฤมิตงานประกวด “THAIWATHER HACK รูŒนํ้า
                                                                       ลดภัย สรŒางโอกาส” และมี ดร.วิภารัตน ดีอ‹อง ผูŒอํานวยการสํานักงาน
                                                                       การวิจัยแห‹งชาติ ดร.พันธุอาจ ชัยรัตน ผูŒอํานวยการสํานักงาน
                                                                       นวัตกรรมแห‹งชาติ และ ดร.สุทัศน วีสกุล ผูŒอํานวยการ
                                                                       สถาบันสารสนเทศทรัพยากรนํ้า  ร‹วมกันลงนาม
                                                                       ความร‹วมมือดังกล‹าว เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2565
                                                                       ณ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรนํ้า (องคการมหาชน)
              ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรีวาการ
       กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม กลาวถึงวัตถุประสงค
       ของการลงนามไววา การลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือครั้งนี้ เปนการดําเนินงาน
       รวมกันของ 3 หนวยงาน เพื่อใหบรรลุเปาหมาย 2 ดาน คือ การบริหารจัดการ
       ทรัพยากรนํ้าระดับชุมชน และโครงการพัชรสุธาคชานุรักษ ในพระบรมราชูปถัมภ
       (การจัดการปญหาเพื่อการอยูรวมกันอยางสมดุลระหวางคนกับชางปา) ดวยองค
       ความรูดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม ซึ่งทั้ง 3 หนวยงาน
       จะตองรวมขับเคลื่อนตั้งแตระดับนโยบายจนถึงระดับปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม
       พรอมทั้งสรางกลไกการดําเนินงานใหเอื้อตอการทํางาน และตองเชื่อมโยงสอดรับ
       แนวนโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตรชาติตามบทบาทหนาที่ของแตละหนวยงาน   ผูปลูกพืชที่ไมเปนที่สนใจของชาง และขยายผลไปสูชุมชนอื่น ๆ เพื่อบริหาร
       เพื่อใหเกิดการดําเนินงานแบบบูรณาการที่มีประสิทธิภาพรวมกัน   จัดการและแกปญหาใหแกชุมชน อันเปนการสืบสาน รักษา และตอยอด
              “หลายคนอาจเห็นเรื่องชางปาเปนปญหา แตตนกลับเห็นวาเปน  แนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
       โอกาส เมื่อกอนชางปาแทบจะสูญพันธุไปพรอมกับเสือ แตพอพวกเราชวยกันดูแล  มหาราช บรมนาถบพิตร สืบไป
       ทรัพยากรธรรมชาติ ดังที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทําใหพวกเราไดเห็นอยางตอเนื่อง  นอกจากนี้ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
       มาโดยตลอด ชางปาในประเทศก็กลับเพิ่มจํานวนมากขึ้น รวมถึงสัตวที่ใกล  วิจัยและนวัตกรรม ไดมอบโลรางวัลวิศวนฤมิตใหกับผูชนะการประกวด
       สูญพันธุอื่น ๆ ดวย โดยเฉพาะในพื้นที่ปารอยตอ 5 จังหวัดภาคตะวันออก ทําให  “THAIWATER HACK รูนํ้า ลดภัย สรางโอกาส” ซึ่งจัดโดยสถาบันสารสนเทศ
       พื้นที่ปาของไทยเพิ่มความอุดมสมบูรณยิ่งขึ้น สวนปญหาที่เกิดผลกระทบกับ  ทรัพยากรนํ้า (องคการมหาชน) รวมกับ วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย
       ชาวบาน เราก็ไมไดละเลยและหาทางจัดการปญหาเพื่อใหคนกับชางอยูรวมกัน  ในพระบรมราชูปถัมภ จัดการประกวดแนวคิดเพื่อแกปญหาดานนํ้าของประเทศ
       อยางสมดุล พรอมจัดหาแหลงนํ้าชุมชนใหมีนํ้ากินนํ้าใชพอเพียง ดวยกระบวนการ  ดวยวิศวกรรม และคลังขอมูลนํ้าแหงชาติ (Thaiwater.net) ของสถาบัน
       ทางวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม”                       สารสนเทศทรัพยากรนํ้า (องคการมหาชน) โดยผูไดรับรางวัลชนะเลิศ ไดแก
              ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดกลาววา   ทีม Hydroinformatics for Highways อันดับที่ 2 ไดแก ทีม Platform รายงาน
       วช. ไดสนับสนุนทุนวิจัยใหกับโครงการสงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานภายใต  อุทกภัย กองอํานวยการนํ้าแหงชาติ อันดับที่ 3 ไดแก ทีม On - Farm Solution
       โครงการพัชรสุธาคชานุรักษ เพื่อใหเกิดการบูรณาการตามแนวพระราชดําริ  ซึ่งทั้ง 3 ทีมจะไดรวมงานกับสถาบันสารสนเทศทรัพยากรนํ้า (องคการมหาชน)
       ดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ซึ่งสํานักงานการวิจัยแหงชาติไดดําเนิน  ในการพัฒนาไอเดียจากการประกวดครั้งนี้ใหไปสูความเปนจริงตอไป
       แนวทางขับเคลื่อนการบริหารจัดการ การอยูรวมกันอยางสมดุลระหวางคนกับ  โดยหลังจากเสร็จพิธีลงนามฯ ผูรวมลงนามไดเยี่ยมชมนิทรรศการ
       ชางปา โดยการนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมทั้งระดับภูมิปญญาและระดับสากล  การดําเนินงานของสถาบันสารสนเทศทรัพยากรนํ้า (องคการมหาชน) อาทิ
       มาปรับใชในพื้นที่เปาหมายรอยตอ 5 จังหวัดภาคตะวันออกที่ไดรับผลกระทบจาก  วีดิทัศนเทคโนโลยีการวิเคราะหและคาดการณสถานการณนํ้า, ระบบคอมพิวเตอร
       ชางปา รวมถึงสนับสนุนองคความรูในการสรางอาชีพเสริมแกประชากรในพื้นที่  สมรรถนะสูงสําหรับประมวลผลขอมูลสารสนเทศทรัพยากรนํ้า และสภาพภูมิอากาศ,
       ที่ไดรับผลกระทบจากชางปา ดวยการฝกอาชีพโดยนําภูมิปญญาทองถิ่นมาปรับใช  นิทรรศการ “จากนภา ผานภูผา สูมหานที” และระบบโทรมาตรตรวจวัด
       เพื่อสรางสรรคผลิตภัณฑที่เปนอัตลักษณของชุมชน และสรางเครือขายเกษตรกร  สภาพอากาศและระดับนํ้าอัตโนมัติ
                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         10                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15