Page 11 - จดหมายข่าว วช 141
P. 11

กิจกรรม วช.



          วช. ร‹วมกับ สกสว. บพค. JST และ JSPS

                    จัดการประชุมสภาวิจัยโลก

              (Global Research Council : GRC)

             ภูมิภาคเอเชียแปซิฟก  ประจําป‚ 2022

























                                                                     ศาสตราจารยพ
              กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดย สํานักงาน  ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรีวาการิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรีวาการ
       การวิจัยแห‹งชาติ (วช.) ร‹วมกับ สํานักงานคณะกรรมการส‹งเสริมวิทยาศาสตร  กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ไดกลาวในพิธีเปด
       วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และหน‹วยบริหารและจัดการทุนดŒานการพัฒนากําลังคน  การประชุมฯ วา ปนี้ถือเปนปแรกในหนาประวัติศาสตรที่หนวยงาน
       และทุนดŒานการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาการวิจัยและการสรŒางนวัตกรรม (บพค.)  สนับสนุนทุนวิจัยของประเทศไทย ไดแก วช. สกสว. และ บพค. ไดรวมกัน
       ร‹วมกับหน‹วยงานสนับสนุนทุนวิจัยรายใหญ‹ประเทศญี่ปุ†น Japan Science and  เปนเจาภาพในการจัดประชุม “สภาวิจัยโลกแหงภูมิภาคเอเชียแปซิฟก”
       Technology Agency (JST) และ Japan Society for the Promotion of Science   ซึ่งมีผูนําจากหนวยงานสนับสนุนทุนวิจัยชั้นนําระดับโลกกวา 16 ประเทศ
       (JSPS) จัดการประชุมสภาวิจัยโลกแห‹งภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ครั้งที่ 22 (2022   อาทิ ไทย เกาหลีใต ญี่ปุน ติมอร-เลสเต นิวซีแลนด เนเธอรแลนด บราซิล
       Global Research Council Asia-Pacific Regional Meeting) ระหว‹างวันที่ 21 - 23   ฟลิปปนส จีน สิงคโปร เวียดนาม ศรีลังกา อินโดนีเซีย อิหราน และอิตาลี
       พฤศจิกายน 2565 โดยมี ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหล‹าธรรมทัศน รัฐมนตรี  เขารวมการประชุมฯ โดยสภาวิจัยโลกเปนการรวมตัวของหนวยงาน
       ว‹าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เปšนประธานเปด  สนับสนุนทุนวิจัยจากทั่วโลกที่ริเริ่มมาจาก US National Science
       การประชุมฯ และปาฐกถาในหัวขŒอ “ความสําคัญของความเชื่อมโยงวิทยาศาสตร  Foundation (NSF) เมื่อป พ.ศ. 2555 โดยมีวัตถุประสงคหลักคือ
       และศิลปศาสตรที่จะขับเคลื่อนใหŒเกิดผลกระทบวงกวŒางต‹อสังคม” โดย ดร.วิภารัตน
       ดีอ‹อง ผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ, รองศาสตราจารย ดร.ป˜ทมาวดี   มุงเนนการแลกเปลี่ยนประสบการณและเตรียมความพรอมของหัวขอ
       โพชนุกูล ผูŒอํานวยการสํานักงานคณะกรรมการส‹งเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและ  และกรอบการประชุมสําหรับการประชุมประจําปที่ผูนําหนวยงานใหทุน
       นวัตกรรม, Mr.Shigeo Morimoto, Vice President แห‹ง Japan Science and   จากทั่วโลกจะรวมตัวกันที่ประเทศเนเธอรแลนดในกลางปหนา
       Technology Agency และ Dr.Tetsuya Mizumoto, Executive Director   โดยเนน 2 หัวขอหลัก ไดแก 1) เรื่องบทบาทของหนวยงานใหทุนวิจัย
       แห‹ง Japan Society for the Promotion of Science กล‹าวตŒอนรับ ซึ่งการประชุม ตอการจัดการปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change)
       ดังกล‹าวมีผูŒนําหน‹วยงานใหŒทุนวิจัยระดับโลกจาก 16 ประเทศเขŒาร‹วมการประชุมฯ  และ 2) เรื่องรางวัลและกระบวนการในการยกยองนักวิจัยที่มีบทบาท
       เพื่อร‹วมกําหนดนโยบายและทิศทางการสนับสนุนทุนวิจัยโลก เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน  ในการสรางผลกระทบเชิงเศรษฐกิจ (Reward and Recognition
       2565 ณ โรงแรมโนโวเทล สยามสแควร กรุงเทพมหานคร          Mechanism for Researchers)
                                                                     สําหรับการประชุมสภาวิจัยโลกแหงภูมิภาคเอเชียแปซิฟก
                                                              ในครั้งนี้ ไทยไดยกตัวอยางการทํางานของหนวยบริหารและจัดการทุน
                                                              ดานการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ซึ่งถือเปนมิติใหมของการสนับสนุน
                                                              ที่เนนการทํางานรวมกันระหวางผูมีสวนไดเสียทุกระดับลงไปถึงเจาหนาที่
                                                              ทองถิ่นและชุมชนในพื้นที่ สรางผูประกอบการในพื้นที่ชวยกระตุนเศรษฐกิจ
                                                              ฐานรากกวา 6,000 ราย สรางรายไดกวาสองรอยลานบาทใหแกชุมชน
                                                              ทั่วประเทศ โดยหวังวาโมเดลการสนับสนุนทุนแบบสหวิทยาการที่ยึดโยง
                                                              การทํางานรวมกับผูมีสวนไดสวนเสียในทุกระดับนี้จะเปนอีกหนึ่งโมเดลที่
                                                              หนวยงานสนับสนุนทุนวิจัยทั่วโลกจะไดหยิบยกไปพิจารณา และขยายผล
                                                              ในที่ประชุมประจําปสภาวิจัยโลก ณ ประเทศเนเธอรแลนด ในกลางปหนา
                                                              ตอไป
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16