Page 8 - จดหมายข่าว วช 141
P. 8

นวัตกรรม : เพ� อชุมชน

                            นวัตกรรมเครื่องผ‹าไมŒไผ‹ กลไกจักตอกไมŒไผ‹ และเลาะขŒอ ไผ‹ กลไกจักตอกไมŒไผ‹ และเลาะขŒอ ไผ‹ กลไกจักตอกไมŒไผ‹ และเลาะขŒอ ไผ‹ กลไกจักตอกไมŒไผ‹ และเลาะขŒอ
                            นวัตกรรมเครื่องผ‹าไมŒ
                            นวัตกรรมเครื่องผ‹าไมŒ
                            นวัตกรรมเครื่องผ‹าไมŒ
                                    เพิ่มปริมาณการผลิตผลิตภัณฑจากไมŒไผ‹

                                   เพื่อเพิ่มมูลค‹าทางเศรษฐกิจชุมชนฐานราก








                                                                                             รองศาสตราจารย ดร.กันต อินทุวงศ
                                                                                              คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
                                                                                               มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ
              ดร.วิภารัตน ดีออง
        ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ

                 สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ  (วช.)  กระทรวงการอุดมศึกษา
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ใหŒการสนับสนุนนวัตกรรมผลิตภัณฑจากไมŒไผ‹
          เพื่อเพิ่มมูลค‹าทางเศรษฐกิจชุมชนฐานราก เพื่อส‹งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา
          ธุรกิจชุมชนอย‹างยั่งยืน จากการแปรรูปผลิตภัณฑจากไมŒไผ‹แบบครบวงจร
          โดยใชŒทรัพยากรที่มีตามธรรมชาติอย‹างคุŒมค‹า โดยการดําเนินโครงการ
          ของทีมนักวิจัยจากคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ
          ดŒวยการนําองคความรูŒและเทคโนโลยีมาปรับใชŒในการพัฒนาผลิตภัณฑไมŒไผ‹  ไดน
                                                              ไดนําองคความรูทางเทคโนโลยีจากนักวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏําองคความรูทางเทคโนโลยีจากนักวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
          จากชุมชน รวมถึงการพัฒนากระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมแปรรูปไมŒไผ‹  อุตรดิตถ มาพัฒนากระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมแปรรูปไมไผในระดับ
          ในระดับวิสาหกิจชุมชนอย‹างเหมาะสมและสามารถพึ่งพาตนเองไดŒ สามารถ  วิสาหกิจชุมชน และมีการตอยอดไปอีกหลายชุมชน ที่นําวัตถุดิบจากไมไผ
          ยกระดับผลิตภัณฑตามความตŒองการของตลาด พรŒอมหาช‹องทางในการ  ที่มีอยูตามธรรมชาติมาผลิตเปนนวัตกรรมชุมชน สามารถพึ่งพาตนเองได
          จําหน‹ายสินคŒา เพื่อลดความเสี่ยงสินคŒาลŒนตลาด       สรางเศรษฐกิจฐานรากไดอยางยั่งยืน และนวัตกรรมนี้เปนหนึ่งใน 50 ชิ้นงาน
                 ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ   ที่นํามาแสดงที่ วช. เนื่องในโอกาสวันคลายวันสถาปนา วช. ครบรอบ 63 ป
          ไดกลาวถึงการสนับสนุนการวิจัยไววา  วช.  เปนกลไกสําคัญของรัฐ  ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 25 - 28 ตุลาคม 2565 ที่ผานมา
          ในการขับเคลื่อนใหการสนับสนุนงานวิจัย  สิ่งประดิษฐคิดคน  หรือ  รองศาสตราจารย ดร.กันต อินทุวงศ อาจารยนักวิจัยจาก
          นวัตกรรมตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอประชาชน และสามารถถายทอด  คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ ไดกลาวถึง
          เปนองคความรูสูชุมชน  รวมถึงการสงเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตและ  การคิดคนนวัตกรรมไววา ทางทีมวิจัยไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของ
          สิ่งแวดลอม การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูในชุมชนที่เปน  ทรัพยากรธรรมชาติไมไผในชุมชน ที่กระจายอยูในหลายจังหวัด หากมี
          หัวใจสําคัญที่สามารถสรางรายไดใหกับคนในชุมชน โดยไดรับการสนับสนุน  การนําองคความรูทางเทคโนโลยีมาสรางเปนนวัตกรรมชุมชนจะทําใหมีความ
          องคความรูทางดานเทคโนโลยีเพื่อใชเปนเครื่องมือเอื้ออํานวยความสะดวก  เขมแข็งมากยิ่งขึ้น จึงไดรวมกับกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายใน
          ในการทําผลิตภัณฑในชุมชน อยางเชนที่บานวังรอง ตําบลหวยไร อําเภอหลมสัก   ราชอาณาจักร หรือ กอ.รมน. โดยการสนับสนุนทุนวิจัยจาก วช. พัฒนา
          จังหวัดเพชรบูรณ ซึ่งมีการจัดตั้งเปนศูนยการเรียนรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง   กระบวนการแปรรูปไมไผ ผานนวัตกรรมเครื่องผาไมไผ กลไกจักตอกไมไผ
                                                              และเลาะขอ สนับสนุนการทําผลิตภัณฑ สามารถเพิ่มปริมาณการผลิต
                                                              สอดคลองกับความตองการของตลาด อยางเชนที่บานวังรอง ตําบลหวยไร
                                                              อําเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ไดมีการนํานวัตกรรมนี้มาสาธิตใหกับ
                                                              ชาวชุมชน ซึ่งไดผลเปนที่นาพอใจเนื่องจากตอบโจทยรากฐานการผลิต
                                                              ของสินคาชุมชน ผลิตภัณฑเครื่องจักสานจากไมไผ เปนการเสริมองคความรู
                                                              พื้นฐานที่ชาวบานมีอยูแลวจากภูมิปญญาทองถิ่น
                                                                     นอกจากนี้ยังมีการขยายผลตอยอดนวัตกรรมเทคโนโลยีแปรรูป
                                                              ไมไผ เพื่อนําไปสรางผลิตภัณฑชุมชนอีกหลายพื้นที่ อาทิ ที่ตําบลเมืองลีง
                                                              อําเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร และอําเภอตาพระยา จังหวัดสระแกว
                                                              ผูนําชุมชนไดรวมกับชาวบาน และ กอ.รมน. ในพื้นที่ไดรับการถายทอด
                                                              ทางเทคโนโลยี ภายใตโครงการการจัดการความรูการวิจัยและมีสวนรวม
                                                              เพื่อประโยชนจากเทคโนโลยีเครื่องผาไมไผ เครื่องจักตอก และเลาะขอ
                                                              และโครงการยกระดับนวัตกรรมชุมชนและนวัตกรรมชุมชนตนแบบดวยการ
                                                              วิจัยและพัฒนาอยางยั่งยืน ซึ่งเปนกระบวนการจัดการตั้งแตตนนํ้า กลางนํ้า
                                                              และปลายนํ้า เพื่อเสริมศักยภาพทางเศรษฐกิจของชุมชน ซึ่งหากมีชุมชน
                                                              สนใจนวัตกรรมนี้สามารถติดตอไดที่ : รองศาสตราจารย ดร.กันต อินทุวงศ
                                                              คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม  มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ
                                                              Facebook : Gunt Intuwong
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13