Page 4 -
P. 4

งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล

                 ถ ถ ถ ถ
                 ถึงแมวาจะมีการพัฒนาเทคโนโลยีการสังเคราะหึงแมวาจะมีการพัฒนาเทคโนโลยีการสังเคราะหึงแมวาจะมีการพัฒนาเทคโนโลยีการสังเคราะหึงแมวาจะมีการพัฒนาเทคโนโลยีการสังเคราะหึงแมวาจะมีการพัฒนาเทคโนโลยีการสังเคราะห
          พอลิเอสเทอรที่ยอยสลายไดทางชีวภาพในภาคอุตสาหกรรม
          อยางตอเนื่อง แตไมมีการเปดเผยกระบวนการผลิตในรายละเอียด
          เนื่องจากถูกจํากัดในรูปของสิทธิบัตรและความลับทางการคาใน
          สวนของประเทศไทยเอง ปจจุบันยังไมสามารถผลิตมอนอเมอร

          และพอลิเมอรดังกลาวได ตองสั่งซื้อเม็ดพลาสติกจากตาง
          ประเทศเพื่อนํามาขึ้นรูปเปนบรรจุภัณฑพรอมใชหรือวัสดุ
          ทางการแพทย หรือมีบริษัทตางชาติมาตั้งโรงงานโดยใชผลิตผล
          ทางการเกษตรมูลคาตํ่าในประเทศ                        /

                 คณะผูวิจัยจึงไดเล็งเห็นวาสิ่งที่สําคัญที่สุดที่จะทําให  การผลิตพอลิเมอรที่ดูดซึมไดคุณภาพสูงเกรดทาง
          ลดการนําเขาผลิตภัณฑดังกลาวจากตางประเทศ จะตองมี   การแพทย จากสารตั้งตน lactic acid และ/หรือ วงมอนอเมอร
          “เทคโนโลยีการผลิตพอลิเมอรยอยสลายไดทางชีวภาพ” เปน  อื่น ๆ เชน poly (L - lactide) (PLL), poly (L - lactide -
          ของประเทศไทยเอง และดําเนินการโดยคนไทย จึงไดวางแผน  co - caprolactone) (PLC), poly (L - lactide - co -

          พัฒนากระบวนการผลิตมอนอเมอรและพอลิเมอรโดยใช       glycolide) (PLG) ตามมาตรฐาน ASTM F1925 - 09
          ตัวเรงปฏิกิริยาใหม ภายใตการสนับสนุนงบประมาณจาก   (Standard Specification for Semi - Crystalline Poly
          สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) สํานักงาน    (lactide) Polymer and Copolymer Resins for Surgical
          นวัตกรรมแหงขาติ (สนช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม (มช.) และ   Implants) โดยใชเทคโนโลยีของประเทศไทยเอง ดําเนินการ

          บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (ปตท.) โดยไดสรุปภาพรวมทั้งหมด  ใน “หองปฏิบัติการผลิตพลาสติกชีวภาพดูดซึมไดคุณภาพสูง
          ของงานวิจัยและนวัตกรรม ดังแผนภาพ Summary of the     สําหรับเครื่องมือแพทย” ซึ่งเปนหองปฏิบัติการมาตรฐาน
          project : Bioplastic Innovation ซึ่งจะเห็นภาพชัดเจนในการ  ISO 13485 (ระบบการบริหารงานดานคุณภาพสําหรับเครื่องมือ
          พัฒนาเทคโนโลยีอยางตอเนื่องตั้งแต ตนนํ้า - กลางนํ้า - ปลายนํ้า   ทางการแพทย)  ทําการเปรียบเทียบสมบัติและตนทุน

          ตั้งแตป พ.ศ. 2548 - 2560 โดยมีการพัฒนาตอยอดงานวิจัย   การผลิตของพอลิเมอรที่ดูดซึมไดกับผลิตภัณฑทางการคา
          “พอลิเมอรเฉพาะอยาง (Speciaity Polymers)” ใหสามารถผลิต   เกรดทางการแพทย ดําเนินการผลิตและจําหนายตามรูปแบบ
          “พอลิเมอรเกรดทางการแพทย  (medical grade)” เพื่อนําไปใช  แผนธุรกิจของมหาวิทยาลัยเชียงใหม โดยหองปฏิบัติการ
          เปนวัตถุดิบตั้งตนสําหรับผลิตวัสดุทางการแพทย

          (biomaterials) เชน ไหมเย็บแผลที่ละลายได
          ทอนําเสนประสาท ยาที่ถูกออกแบบมาใหสามารถ
          ควบคุมการปลดปลอยตัวยาอยางชา ๆ ภายในรางกาย
          ในชวงระยะเวลาหนึ่ง หรือเครื่องมือแพทย

          (biomedical devices) เชน วัสดุทางทันตกรรม
          อุปกรณประเภทสกรูและแผนดามกระดูก
          เนื่องจากปจจุบันวัสดุดังกลาวไมสามารถผลิต
          ไดเองในประเทศไทย จําเปนตองสั่งซื้อจาก

          ตางประเทศทั้งในรูปแบบเม็ดพอลิเมอรซึ่งเปน
          วัตถุดิบและนํามาขึ้นรูปเองหรือผลิตภัณฑพรอมใช
          ซึ่งมีราคาแพง














                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          4                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9