Page 7 -
P. 7

3. เกสรตัวผูŒ                                       5. การฉีดพ‹น

                ในการทําใหมะพราวติดผลดก ตองใชเทคนิคการผสม       การฉีดพนควรปฏิบัติดังตอไปนี้
          เกสรแทน การเลือกเกสรตัวผูที่นํามาผสมนั้น ใหเลือกจาก     1.  พนดวยสารละลายไอโซโทนิค (สะอาด) กอนลาง
          ดอกหางหนูที่ดอกตัวผูเริ่มบานมาแลว เก็บดอกตัวผูที่ยังไมบาน   ปลายดอกตัวเมียทิ้งไวใหพอหมาด ๆ
          นํามาใสถุงทับใหแตกออก กอนนําไปผสมกับสารละลายเกสร       2.  พนดวยสารละลายเกสร (เรณู) เวลาที่เหมาะสม

                                                              ในการฉีดพน ควรอยูระหวางเวลา 05.00 - 12.00 น. ไมควร
                                                              เกินชวงเวลานี้ ความพรอมของดอกมะพราวจะลดลงไป ควร
                                                              พนจั่นเดิมดวยสารละลายเกสรติดตอกัน 2 - 3 วัน ในระหวาง
                                                              2 - 3 วัน หากฝนตกลงมา ใหลางจั่นดวยสารละลายไอโซโทนิค
                                                              กอนทุกครั้ง


            ¡ÒÃŌҧª‹Í´Í¡´ŒÇÂ
           ÊÒÃÅÐÅÒÂäÍâ«â·¹Ô¤          ¡Òéմ¾‹¹ÅŒÒ§´Í¡


          4. สารละลายเกสร (เรณู)

                หยดนํ้าหวานปลายดอกตัวเมีย ถูกนํ้าฝนชะลาง และ
          ชองทางเปดมีสภาพไมเหมาะสมตอการผสมเกสร เมื่อผานการ
          ลางดวยสารละลายไอโซโทนิค (isotonic) คลายกับนํ้ายาลางแผล    ¡Òþ‹¹ÊÒÃÅÐÅÒÂà¡Êùҹ 2 - 3 ¹Ò·Õ
          ปลายดอกตัวเมียจะกลับมาพรอมผสมเกสรไดอีกครั้ง นําดอก
          ตัวผูประมาณ 200 - 300 กรัม หรือประมาณ 1 กํามือ นํามา

          ทุบใหแตกในถุงพลาสติก จากนั้นนําสารละลายเกสร (เรณู)   ประโยชนที่ไดŒรับจากการใชŒเทคโนโลยี
          มาเติมในถุง แลวกรองผานผาขาวบางใสลงในถังพนสารละลาย   การผลิตมะพรŒาวนํ้าหอมติดผลดกทั้งป‚
          ปลอยทิ้งไวประมาณ 30 นาที เพื่อใหเกสรตัวผูเริ่มงอก        จากการศึกษาวิจัย เมื่อทําการฉีดพนสารดังกลาวึกษาวิจัย เมื่อทําการฉีดพนสารดังกลาว
                                                                     จากการศ
          หลังจากนั้นก็สามารถนําไปฉีดพนจั่นที่มีดอกพรอมผสมตอไป   ในชวงเดือนกันยายน ถึงเดือนตุลาคม 2558 เปนชวงที่
          สําหรับการเตรียมสารละลายเกสรสําหรับฉีดพน จะเตรียม   ฝนตกชุกมากที่สุดของป พื้นที่ทดสอบแปลงปลูกมะพราว

          สารละลายเกสร (จากขวดสารละลาย) ตอนํ้าอัตราสวน 1 : 9   จํานวน 7 ไร ปลูกระยะ 6 x 6 เมตร แบงออกเปน 2 สวน
          ซึ่งเปนอัตราสวนที่เหมาะสมและถูกตองสําหรับการนําไปใช    สวนละ 3.5 ไร ที่ใชเทคโนโลยี และอีก 3.5 ไร ที่ไมใชเทคโนโลยี

                                                               พบวา มะพราวที่ใชเทคโนโลยีการผลิตมะพราวลูกดก
                                                               มีผลผลิตติดผลในเดือนที่สาม รอยละ 95 ขณะที่แปลงที่
                                                               ไมไดใชเทคโนโลยีมีมะพราวมีผลผลิตติดผลเพียงรอยละ 3
                                                               เทานั้น โดยมีจํานวนตนมะพราวทั้งหมดที่ใชเทคโนโลยีฯ
                                                               60 ตน และมีจํานวนตนมะพราวที่ไมใชเทคโนโลยีฯ 60 ตน

                                                               พบวา มีจํานวนผลที่ติดผลผลิตคิดรวมสองเดือนที่ทดลองใช
                                                               เทคโนโลยีการผลิตมะพราวลูกดก เก็บผลเดือนมีนาคม และ
                                                               เมษายน จากการทดลองพบวา มีสวนตางอยูมากอยางเห็น
             ¡ÒÃàµÃÕÂÁÊÒÃÅÐÅÒ         áÅŒÇàµÔÁÊÒÃÅÐÅÒÂà¡Êà    ไดชัดประมาณ 7 - 8 เทาตัว ดังนั้น การใชเทคโนโลยี
              à¡Êà ¹íÒ´Í¡µÑǼٌ       ŧ仡‹Í¹áŌǡÃͧ¡‹Í¹     การผลิตมะพราวลูกดก สามารถเพิ่มผลผลิตมะพราวนํ้าหอม
            ·ÕèàÅ×Í¡äÇŒÁҷغãˌᵡ        ¼ÊÁ㹶ا¾‹¹          ไดเปนอยางดี และสามารถสรางมูลคาในชวงที่มะพราว
               㹶ا¾ÅÒʵԡ                                    ขาดแคลนไดเปนอยางดียิ่ง



          ผูสนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ :  รองศาสตราจารยวรภัทร ลัคนทินวงศ ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร
          คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต เลขที่ 99 หมูที่ 18 ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัด
          ปทุมธานี 12120 โทรศัพท 0 2564 4488 โทรสาร 0 2564 4525 โทรศัพทมือถือ 08 1822 2801 E-Mail : vore405@me.com

         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12