Page 6 -
P. 6

งานวิจัยเพ� อประชาชน


          เทคโนโลย
          เทคโนโลย
          เทคโนโลย
          เทคโนโลย
          เทคโนโลย
          เทคโนโลย
          เทคโนโลย
          เทคโนโลย
          เทคโนโลย
          เทคโนโลยีการผลิต มะพราวนํ้าหอมีการผลิตีการผลิตีการผลิตีการผลิตีการผลิตีการผลิตีการผลิตีการผลิตีการผลิตีการผลิตีการผลิตีการผลิตีการผลิตีการผลิตีการผลิตีการผลิต มะพราวนํ้าหอม
          เทคโนโลย
          เทคโนโลย
          เทคโนโลย
          เทคโนโลย
          เทคโนโลย
          เทคโนโลย
          เทคโนโลย
                              ต ต ต ต ต
                              ติดผลดกทั้งปิดผลดกทั้งปิดผลดกทั้งปิดผลดกทั้งปิดผลดกทั้งปิดผลดกทั้งป
                                                                         รองศาสตราจารยวรภัทร ลัคนทินวงศ และคณะ
                                                                         รองศาสตราจารยวรภัทร ลัคนทินวงศ และคณะ
                                                                         รองศาสตราจารยวรภัทร ลัคนทินวงศ และคณะ
                                                                                  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต
                 มะพราวนํ้าหอม (Aromatic Coconut) ของไทย  เทคโนโลยีการเกษตรเชิงพาณิชยและการสงออก ภาควิชา
          เปนมะพราวที่มีกลิ่นหอมและมีรสหวาน เปนลักษณะเฉพาะ  เทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
          และมีคุณคาทางโภชนาการมีเกลือแร และแรธาตุที่จําเปนตอ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ไดรับทุนสนับสนุนการทํากิจกรรม
          รางกายสูง จึงไดนํานํ้ามะพราวมาดื่มแทนเกลือแร (Refreshes  สงเสริมและสนับสนุนการวิจัยโครงการจัดการความรู
          drinking) และใชทดแทนนํ้าเกลือใหกับทหารในสงครามโลก และถายทอดเทคโนโลยีจากผลงานวิจัยและนวัตกรรม
          ครั้งที่สอง ดวยความเปนเอกลักษณของมะพราวนํ้าหอมจึงเปน จากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ประจําป
          สินคาที่นิยมอยางมากในตางประเทศ มีการสงออกปละกวา  งบประมาณ 2558 เพื่อหาสาเหตุแนวทางการแกไขปญหา
          1,000 ลานบาท ซึ่งมะพราวนํ้าหอมเพื่อการบริโภคในประเทศ จนประสบความสําเร็จสามารถทําใหผลมะพราวนํ้าหอมติดผล
          และการสงออก มักประสบปญหาขาดแคลนในฤดูรอน เริ่มตน ดีขึ้นรอยละ 70 – 80 โดยผลงงานวิจัย เรื่อง “เทคโนโลยี
          ตั้งแตตนเดือนกุมภาพันธหรือปลายเดือนกุมภาพันธไปจนถึง การผลิตมะพราวนํ้าหอมติดผลดกทั้งป” ไดรับรางวัลระดับ
          ชวงเดือนมิถุนายนของทุกป สาเหตุตองยอนหลังไปเมื่อประมาณ  นานาชาติ จากงาน “Seoul International Invention Fair 2015
          6 – 7 เดือน เปนชวงที่มะพราวนั้นออกดอกติดผลนอย เริ่มตั้งแต (SIIF 2015)” รางวัลเหรียญทอง และรางวัล Special prize
          ปลายเดือนสิงหาคมหรือตนเดือนกันยายนเปนตนไปจนถึง on state  รวมถึงไดรับการถายทอดเทคโนโลยีสูภาคเกษตรกร

          ปลายเดือนพฤศจิกายน เปนชวงเขาฤดูฝนในเขตภาคกลาง
          มีพายุและฝนฟาคะนองติดตอกันหลายวัน ซึ่งชวงเวลาดังกลาว
          เปนชวงที่มะพราวที่ปลูกแบบรองสวนในพื้นที่ภาคกลาง
          จะมีจํานวนดอกนอย เนื่องจากปริมาณไนโตรเจนที่มาจาก
          นํ้าฝนสงผลกระตุนใหลําตนเติบโตมากกวาและนํ้าฝนชะลาง
          ชอดอก ทําใหเกสรขาดสารอาหารในการงอกเพื่อผสมกับ

          ดอกตัวเมียบนจั่นมะพราว จากปญหาดังกลาว หนวยวิจัย
                                                                   ¨íҹǹ´Í¡, ¼Å áÅÐÃÒ¤ÒÁоÌÒǹíéÒËÍÁã¹Ãͺ»‚
            เทคโนโลยีการผลิตมะพรŒาวลูกดกทั้งป‚                             (¢ŒÍÁÙÅ»‚ 2552 – 2557)

                  การทําใหมะพราวติดผลดกทั้งปนั้นไมใชเรื่องยาก และก็ไมใชเรื่องงาย ตองอาศัยเทคนิคอันปราณีต ซึ่งเกษตรกรตอง
          มีความเขาใจธรรมชาติของมะพราวเปนอยางดี และตองหมั่นตรวจแปลง ตรวจสภาพการบานของดอกมะพราวเพื่อทําการ
          ผสมเกสรแทน (เนื่องจากฝนตกนํ้าฝนชะลางชอดอก) ซึ่งเทคนิคการทําใหมะพราวติดผลดกตลอดทั้งป


          ตŒองใชŒเทดนิคดังต‹อไปนี้                            มีธาตุ N สูง และอาจมีรานํ้าคางเขาทําลาย (เนื่องจากเปน
                                                              ชองเปดทางธรรมชาติ) ดังนั้น ตองปรับสภาพดอกตัวเมีย
          1. ดอกที่พรŒอมผสม                                   ใหกลับมาดวยการลางดอกปรับสภาพปลายดอกใหกลับ
                ระยะดอกที่พรอมผสม เปนระยะที่สําคัญมาก หาก มาพรอมผสม การลางดอกตองลางดวยสารละลายที่สามารถ
          ดูระยะที่ผิดการชวยผสมเกสรจะไมประสบความสําเร็จ  ปรับสภาพใหปลายดอกตัวเมียมาพรอมผสมไดใหม สารละลาย
          เกษตรกรตองหมั่นตรวจแปลงและระยะที่เหมาะสมเสมอ ๆ  ที่เหมาะสมในการลางคือ สารละลายเกลือไอโซไทนิคความเขมขน
                                                              รอยละ 0.9 ซึ่งความเขมขนนี้จะไมทําลายเซลล  ลักษณะคลาย
          2. เทคนิคการลŒางช‹อดอก (สะอาด)                      นํ้ายาลางแผล สําหรับการเตรียมสารละลายเกลือไอโซไทนิค
                ดอกมะพราวที่บานพรอมผสม เมื่อโดนนํ้าฝนตกลงใส สําหรับฉีดพน จะเตรียมสารละลายเกลือไอโซไทนิค (จากขวด

          ในชวงเชา หรือสภาพอากาศปด นํ้าฝนทําใหปลายดอกตัวเมีย สารละลาย) ตอนํ้า อัตราสวน 1 : 9 ซึ่งเปนอัตราสวนที่เหมาะสม
          มีสภาพไมพรอมผสมเกสร นํ้าหวานโดนฝนชะลาง นํ้าฝน และถูกตองสําหรับการนําไปใช

                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          6                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11