Page 14 - จดหมายข่าว วช 149
P. 14

กิจกรรม วช.












                                  มหกรรมงานวิจัยส‹วนภูมิภาค ประจําป‚ 2566
                                  มหกรรมงานวิจัยส‹วนภูมิภาค ประจําป‚ 2566
                                  มหกรรมงานวิจัยส‹วนภูมิภาค ประจําป‚ 2566
                                  (Regional Research Expo 2023) ครั้งที่ 12
                                  (Regional Research Expo 2023) ครั้งที่ 12
                                  (Regional Research Expo 2023) ครั้งที่ 12

                                                                     ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ กลาววา
                                                              สําหรับการจัดงาน “มหกรรมงานวิจัยสวนภูมิภาค” วช. ไดจัดขึ้นโดยขอเสนอ
                                                              แนะของผูบริหารหนวยงานเครือขายในระบบวิจัยทั้ง 4 ภูมิภาค เพื่อใหการ
                                                              นําเสนอผลงานวิจัยไดขยายขอบเขตของการใชประโยชนจากงานวิจัยในภูมิภาค
              สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร  ตาง ๆ มากยิ่งขึ้น ซึ่งไดดําเนินการจัดมาตอเนื่องในทุกป โดยหมุนเวียนการ
       วิจัยและนวัตกรรม ร‹วมกับ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ และหน‹วยงานเครือข‹าย จัดงานในภูมิภาคตาง ๆ และมีมหาวิทยาลัยในแตละภูมิภาคเปนเจาภาพรวม
       ในระบบวิจัย จัดงาน “มหกรรมงานวิจัยส‹วนภูมิภาค ประจําป‚ 2566 (Regional  จัดงานตามลําดับ ในการจัดงาน “มหกรรมงานวิจัยสวนภูมิภาค” ประจําป
       Research Expo 2023) ครั้งที่ 12” ภายใตŒแนวคิด “วิจัย นวัตกรรมเพื่อการพัฒนา 2566 ในปนี้ จัดขึ้นเปนครั้งที่ 12 ภายใตแนวคิดหลัก “วิจัย นวัตกรรมเพื่อการ
       คุณภาพชีวิตอย‹างยั่งยืน ภาคใตŒโมเดล” เพื่อขับเคลื่อนงานวิจัยและนวัตกรรมในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตอยางยั่งยืน ภาคใตโมเดล” โดยมีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ
       พัฒนาทŒองถิ่นภาคใตŒ ระหว‹างวันที่ 28 – 30 มิถุนายน 2566 โดยมี ศาสตราจารย รวมเปนเจาภาพจัดงาน โดยการจัดงานมีความมุงหมายจะเปนการยกระดับ
       พิเศษ ดร.เอนก เหล‹าธรรมทัศน รัฐมนตรีว‹าการกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร  ศักยภาพผลงานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม ของภาคใตไปสูการใชประโยชน
       วิจัยและนวัตกรรม เปšนประธานกล‹าวเปดงานและปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “การศึกษามรดก ในระดับพื้นที่ในวงกวาง และเปนรูปธรรม รวมถึงการไดถายทอดและเผยแพร
       วัฒนธรรมอุษาคเนยกับการพัฒนาภูมิภาคในยุคดิจิทัล” พรŒอมดŒวย ดร.วิภารัตน ดีอ‹อง  ผลงานวิจัย ผลิตภัณฑ และนวัตกรรม ที่เกิดจากการวิจัยและการประดิษฐคิดคน
       ผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ กล‹าวรายงาน มีนายสมพงษ มากมณี รองผูŒว‹า สูผูใชประโยชนในภาคใตโดยตรง และบุคลากรจากสถาบันการศึกษา หนวยงาน
       ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช กล‹าวตŒอนรับในนามจังหวัดนครศรีธรรมราช  วิจัย ทั้งภาครัฐและเอกชน นักเรียน นักศึกษา เยาวชน และประชาชนทั่วไป
       และ ศาสตราจารย ดร.สมบัติ ธํารงธัญวงศ อธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ  ไดนําองคความรูไปผลิตผลงานวิจัย ผลิตภัณฑ และนวัตกรรม เพื่อสรางผลงาน
       ใหŒการตŒอนรับ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2566 ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัด ที่มีคุณภาพยิ่งขึ้น การจัดงาน “มหกรรมงานวิจัยสวนภูมิภาค ประจําป 2566
       นครศรีธรรมราช                                          (Regional Research Expo 2023) ครั้งที่ 12” ไดมีกิจกรรมสําคัญภายในงาน
              ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรีวาการกระทรวง ที่สําคัญ เชน ภาคประชุม ภาคนิทรรศการ ซึ่งถือเปนเวทีที่แสดงใหเห็นถึงแนวคิด
       การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม กลาวถึงความสําคัญของ ของการจัดงาน “วิจัย นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอยางยั่งยืน ภาคใต
       การจัดงานวา การจัดงานในครั้งนี้เปนการนําองคความรูจากผลงานวิจัย  โมเดล” โดยจัดเปนพื้นที่พิเศษที่สื่อใหเห็นถึงความพรอม และความเขมแข็งของ
       เทคโนโลยี และนวัตกรรมไปสูการใชประโยชนระดับพื้นที่ในวงกวางอยางเปน งานวิจัยในภูมิภาค นําเสนอกิจกรรมดวยวิทยากรบรรยาย 6 หัวขอเรื่อง เปนตน
       รูปธรรม สรางแรงบันดาลใจและแรงกระตุนใหกับบุคลากรจากสถาบันการ การจัดกิจกรรมในครั้งนี้เพื่อเปนกลไกขับเคลื่อนงานวิจัยและนวัตกรรมในการ
       ศึกษา หนวยงานวิจัย ทั้งภาครัฐและเอกชน นักเรียน นักศึกษา เยาวชน และ พัฒนาทองถิ่นภาคใต โดยใชการวิจัยพัฒนาเชิงพื้นที่และสรางเศรษฐกิจภูมิภาค
       ประชาชนไดนําองคความรูจากผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปพัฒนาหรือสรางสรรค  บริหารจัดการตนเองไดอยางยั่งยืนและตอเนื่องไปสูอนาคตตอไป
       พรอมตอยอด ผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ที่มีคุณภาพ     ทั้งนี้ คณะผูบริหารกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ
       สอดคลองกับความตองการของประเทศ รวมทั้งสงเสริม สนับสนุนการเผยแพร นวัตกรรม และ วช. พรอมทั้งหนวยงานตาง ๆ ไดเยี่ยมชมการจัดแสดงนิทรรศการ
       ผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปสูการใชประโยชนในภูมิภาค การจัดงานในครั้งนี้ ตัวอยางผลงานวิจัยและกิจกรรม Highlight ไดแก นิทรรศการ “ธนาคารปูมา”
       นับวาเปนสิ่งที่ดีอยางยิ่งในการสรางกลไกการขับเคลื่อนงานวิจัยและนวัตกรรม นิทรรศการ “วิธีการอบและการใชประโยชนไมปาลมนํ้ามันในรูปแบบใหมแบบ
       ในการพัฒนาทองถิ่นอยางยั่งยืน เปนงานที่เกิดความคุมคา และเกิดประโยชน ครบวงจร” นิทรรศการ “ยกระดับนํ้ามันปาลมดิบ จากเกรดอาหารสัตวเปนเกรด
       ในการพัฒนาประเทศ โดยการทํางานรวมกันของหนวยงานเครือขายวิจัย เวชสําอาง” นิทรรศการ “งานวิจัยเดนดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมอาหาร”
       ในภาคใตและทุกภาคสวนที่เกี่ยวของที่รวมการจัดงานในครั้งนี้ใหบรรลุ และนิทรรศการแสดงอัตลักษณของภูมิภาค, พื้นที่ใหคําปรึกษาความรูจาก
       วัตถุประสงค                                           งานวิจัย และตลาดนัดสินคาชุมชน เปนตน
              นอกจากนี้ ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนกฯ ไดปาฐกถาพิเศษ
       เรื่อง “การศึกษามรดกวัฒนธรรมอุษาคเนยกับการพัฒนาภูมิภาคในยุคดิจิทัล”
       โดยมีสาระสําคัญวา เราเปนชาติวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ความเจริญ
       กาวหนาทางการวิจัยจะนําไปสูการตอบสนองการวิจัยที่จะชวยยกระดับประเทศ
       ความเจริญทางวิทยาศาสตรของประเทศไทยไมไดเปนรองประเทศอื่น ๆ อยูใน
       ระดับแนวหนาของอาเซียน รวมถึงดานมนุษยศาสตร สังคมศาสตรและการศึกษา
       มรดกวัฒนธรรมอุษาคเนยเพื่อการนํามาพัฒนาภูมิภาค งานวิจัยอยูกับเรามานาน
       ทุกยุคทุกสมัย และภาคใตเปนบอเกิดแหงวัฒนธรรมไทย มีจุดเดนหลายอยาง
       ที่เหมาะสมจะนํามาศึกษาวิจัยเพื่อตอยอด ขอใหมั่นใจในนักวิจัยของไทย
       รวมกันผลักดันงานวิจัยเพื่อใหเกิดการสงเสริมการพัฒนาพื้นที่ภาคใตใหยั่งยืนตอไป
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         14                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   9   10   11   12   13   14   15   16