Page 9 - จดหมายข่าว วช 149
P. 9

งานวิจัย : สิ่งแวดลอม


       ผลิตภัณฑแปรรูปจากสับปะรดปตตาเวีย และบรรจุภัณฑจากของเหลือทิ้งทางการเกษตร

                                            แกปญหาสับปะรดลนตลาด
                                            แกปญหาสับปะรดลนตลาด
                                            แกปญหาสับปะรดลนตลาด
                                            แกปญหาสับปะรดลนตลาด
                                            แกปญหาสับปะรดลนตลาด






















               สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ  (วช.)  กระทรวงการอุดมศึกษา   คุมคาตามแนวคิด zero-waste หรือ “ของเสียเหลือศูนย” ยังไดนําวัตถุดิบ
        วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ไดŒสนับสนุนทุนวิจัยแก‹คณะนักวิจัยจาก  ที่เหลือจากกระบวนการทําไซรัป มาตอยอดแปรรูปเปนแยมสับปะรด และ
        มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ในการคิดคŒนนวัตกรรมผลิตภัณฑแปรรูปจาก  คุกกี้ไฟเบอรสับปะรด เพื่อเพิ่มมูลคาใหกับ food waste โดยเฉพาะแกน
        สับปะรดป˜ตตาเวียและบรรจุภัณฑจากของเหลือทิ้งทางการเกษตร เพื่อแกŒป˜ญหา  สับปะรดที่ปกติชาวบานจะทิ้งไปในกระบวนการแปรรูปนี้มีเอนไซมโบรมีเลน
        สินคŒาลŒนตลาดและราคาตกตํ่าในฤดูการเก็บผลผลิตโดยเฉพาะในพื้นที่ภาค  ซึ่งมีสมบัติชวยยอยอาหาร เพิ่มภูมิตานทานใหกับรางกาย ซึ่งผลิตภัณฑชุมชน
        ตะวันออก จังหวัดระยอง ซึ่งเปšนพื้นที่การปลูกสับปะรดแหล‹งใหญ‹แห‹งหนึ่งของ  เหลานี้ใชวัตถุดิบธรรมชาติลวน และไมใสวัตถุกันเสีย นอกจากนี้คณะนักวิจัย
        ประเทศ นอกจากนี้จากสถานการณการแพร‹ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่ผ‹านมา  ยังนํานํ้าสับปะรดมาพัฒนาเปนเครื่องดื่ม “คอมบูชา” ที่มีจุลินทรียโพรไบโอ
        ทําใหŒผูŒคŒาสับปะรดต‹างจังหวัดไม‹เขŒามารับซื้อสับปะรดในจังหวัดระยอง ทําใหŒ  ติกส มีสวนชวยรักษาสมดุลของระบบทางเดินอาหารและระบบขับถาย เปน
        ปริมาณสับปะรดเกินความตŒองการของโรงงานแปรรูปในพื้นที่ อีกทั้งโรงงาน  เครื่องดื่มสุขภาพที่กําลังอยูในกระแสนิยมของผูบริโภคปจจุบัน สรางความ
        ยังประสบป˜ญหาการส‹งออกสับปะรดไปต‹างประเทศอีกดŒวย      หลากหลายใหกับผลิตภัณฑชุมชน
               ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ      สําหรับวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ไดแก เปลือกมะพราว
        ไดกลาวถึงการสนับสนุนโครงการวิจัยดังกลาววา วช. ไดเล็งเห็นความสําคัญ  ชานออย ฟางขาว ไดมีการนําองคความรูทางเทคโนโลยี มาพัฒนาประยุกต
        ในการสรางกลไกที่ชวยพยุงราคาพืชผลทางการเกษตรตกตํ่า โดยการนํา  ผลิตกระดาษจากใยสับปะรด ซึ่งพบวากระดาษสับปะรดมีคุณสมบัติพิเศษคือ
        ผลิตภัณฑมาแปรรูปโดยใชองคความรูดานคุณคาทางอาหารมาชวยเสริม  มีความนุมเหนียว และทําไดบางกวากระดาษจากใยพืชชนิดอื่น ๆ สามารถ
        ศักยภาพการสรางผลิตภัณฑแปรรูป ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยและนวัตกรรม  นําไปประยุกตใชกับงานคราฟต และงานหัตถกรรมไดดี และเมื่อนําไปอัด
        ของคณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ที่ไดเล็งเห็นคุณคา  ดวยความรอนจะไดเปนภาชนะและบรรจุภัณฑที่ยอยสลายได เปนมิตร
        ทางโภชนาการของสับปะรดปตตาเวีย ในจังหวัดระยอง มาพัฒนาเปนสินคา  ตอสิ่งแวดลอม
        แปรรูปสรางรายไดใหกับชุมชน โดยการสรางศูนยการเรียนรูขึ้นในชุมชนและ  แนวทางในการขยายผลตอยอด ซึ่งขณะนี้พื้นที่เปาหมายใน
        มีการอบรมถายทอดเทคโนโลยีการผลิต รวมทั้งถายทอดองคความรูดาน  จังหวัดระยองที่กลุมเกษตรกรไดรับประโยชนจากนวัตกรรมสินคาชุมชน
        การตลาด การสรางตราสินคา การทําตลาดออนไลน เพื่อใหธุรกิจชุมชน  จากผลิตภัณฑสับปะรดแปรรูปนี้คือ กลุมเกษตรกรทําไรสับปะรดในพื้นที่
        สามารถขับเคลื่อนไดดวยตนเอง และยกระดับรายไดครัวเรือน เสริมศักยภาพ  จังหวัดระยอง ซึ่งนอกจากจะชวยยกฐานะเศรษฐกิจฐานรากแลว ยังมีการ
        ทางเศรษฐกิจของชุมชนตามนโยบายโมเดลเศรษฐกิจ BCG         พัฒนาในเชิงพาณิชยโดยรวมกับสํานักงานพาณิชยจังหวัดระยอง และ
                 ดร.พลอยทราย โอฮามา อาจารยสาขาวิชาวิทยาศาสตรและ  สํานักงานเกษตรจังหวัดระยอง ที่จะนําแผนงาน องคความรู ผลสําเร็จ
        นวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา หัวหนาโครงการวิจัย กลาวถึง  ของงานไปใชประโยชนในการสรางนโยบายในดานการสรางมูลคาเพิ่มแก
        จุดเริ่มตนของการดําเนินงานภายใตโครงการวิจัยวา ไดรวมกับผูชวยศาสตราจารย  ผลผลิตทางการเกษตรดวยนวัตกรรม และการใชประโยชนจากวัสดุเหลือทิ้ง
        ดร.จิตรลดา ชูมี ดร.เสาวณีย คําพันธ และผูชวยศาสตราจารย ดร.รินรดา   ทางการเกษตรตามนโยบาย BCG กอใหเกิดการลงทุน สงเสริมเศรษฐกิจ
        พัฒนใหญยิ่ง คิดคนนวัตกรรมผลิตภัณฑแปรรูปสับปะรดปตตาเวีย และ  หมุนเวียนในชุมชน และการสรางผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
        บรรจุภัณฑจากใบสับปะรดเหลือทิ้ง โดยผลจากการวิจัยพบวาสับปะรด
        พันธุปตตาเวีย จัดเปนผลไมที่มีคุณคาทางโภชนาการ มีนํ้าตาลซึ่งเปน
        แหลงพลังงาน วิตามิน และแรธาตุหลายชนิด นอกจากนี้ยังมีสารออกฤทธิ์
        ทางชีวภาพ เชน สารประกอบฟนอลิกและเบตาแคโรทีน ซึ่งจัดเปนสาร
        ตานอนุมูลอิสระ ลดไขมันสวนเกินและคอเลสเตอรอล จึงไดนําองคความรู
        ทางเทคโนโลยี และคุณคาทางอาหารมาพัฒนาตอยอดผลิตภัณฑแปรรูป
        อาทิ ไซรัปสับปะรด คีเฟอรนํ้าสับปะรด และเพื่อใหเกิดการใชประโยชนอยาง
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14