Page 7 - จดหมายข่าว วช 149
P. 7

งานวิจัย : สิ่งแวดลอม


           การพัฒนาคลังขอมูลดีเอ็นเอบารโคดของปลาฉลาม - ปลากระเบนในประเทศไทย

        และพัฒนาเทคนิคการตรวจสอบผลิตภัณฑ เพื่อควบคุมการคาปลาฉลามอยางเหมาะสม




















               สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
               สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร  ดวยการคาระหวางประเทศซึ่งชนิดสัตวปาและพืชปาที่ใกลสูญพันธุ หรือไซเตส
        วิจัยและนวัตกรรม ไดŒสนับสนุนทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยบูรพา ในการพัฒนาคลัง (The Convention on International Trade in Endangered Species of
        วิจัยและนวัตกรรม ไดŒสนับสนุนทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยบูรพา ในการพัฒนาคลัง
        ขŒอมูลดีเอ็นเอบารโคŒดของปลาฉลามและกระเบนในประเทศไทย รวมถึงการพัฒนา Wild Fauna and Flora: CITES) และระดับชาติ (พระราชบัญญัติสงวนและ
        เทคนิคการตรวจสอบผลิตภัณฑ ขŒอมูลดีเอ็นเอใชŒจําแนกชนิดฉลามและกระเบนร‹วมกับ คุมครองสัตวปา) แตสัตวกลุมนี้ยังคงถูกคุกคามอยางหนัก โดยมาตรการดาน
        สัณฐาน ช‹วยใหŒเห็นภาพความหลากหลายทางชีวภาพของสัตวกลุ‹มนี้ในหลายระดับ  การอนุรักษและการใชประโยชนอยางยั่งยืนยังไมไดมีประสิทธิผลเทาที่ควร
        ทั้งยังสามารถนําไปประยุกตใชŒในดŒานการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการตรวจสอบ เนื่องจากขาดขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับชนิดที่พบ ชีววิทยา การกระจายพันธุ และ
        ผลิตภัณฑที่ผ‹านการแปรรูปจากฉลามและกระเบน ที่มีการขายทั้งในประเทศและ สถานภาพของประชากร ดังนั้น เพื่อตอบสนองตอความจําเปนเรงดวนในการหา
        ต‹างประเทศ เช‹น ครีบปลาฉลามตากแหŒง ครีบปลาฉลามบรรจุกระป‰อง อาหารที่ทํา แนวทางที่เหมาะสมในการบริหารจัดการปลาฉลามและกระเบน ประเทศไทย
        จากชิ้นส‹วนของปลาฉลามหรือกระเบน ซึ่งขŒอมูลพันธุกรรมจะถูกนํามาช‹วยระบุชนิด จึงไดมีการพัฒนาแผนปฏิบัติการแหงชาติเพื่อการอนุรักษและบริหารจัดการ
        ของปลาฉลาม - กระเบนที่เปšนชนิดคุŒมครองและหายาก ช‹วยใหŒผูŒบริโภคสามารถ ฉลามของประเทศไทย พ.ศ. 2563 – 2567 ที่มีความสอดคลองกับมาตรการ
        เลือกใชŒผลิตภัณฑที่ไม‹ละเมิดกฎหมายไดŒ และทําใหŒผูŒผลิตมีความระมัดระวังในการใชŒ ระดับนานาชาติ โดยระบุความจําเปนเรงดวนในการสรางองคความรูเกี่ยวกับ
        วัตถุดิบ ซึ่งเปšนการช‹วยอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติไดŒอย‹างยั่งยืน  ชีววิทยา นิเวศวิทยา และสถานภาพทางการประมง รวมถึงการใชประโยชนจาก
               ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ  ปลาฉลามและกระเบน ซึ่งโครงการวิจัยนี้ไดออกแบบเพื่อสนับสนุนการดําเนิน
        กลาวถึงความสําคัญของการสนับสนุนทุนวิจัยแกโครงการวิจัยนี้วา วช. เปน งานของแผนปฏิบัติการฯ ที่จะสรางคลังความรูดานดีเอ็นเอ ที่จะชวยการจําแนก
        องคกรสําคัญของรัฐในการขับเคลื่อนสนับสนุนงานวิจัยและนวัตกรรมที่เปน ชนิดในกลุมที่มีสัณฐานใกลเคียงกันจนยังไมสามารถยืนยันชนิดได (look alike
        ประโยชนตอประชาชนและสังคม เสริมสรางคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอม  หรือ cryptic species) ระบุความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากร
        ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลโดยเฉพาะสัตวนํ้าหลายชนิด นับวันจะลด และพัฒนาเครื่องมือที่จะตรวจสอบชนิดในผลิตภัณฑที่ทํามาจากปลาฉลาม
        จํานวนลง บางชนิดใกลสูญพันธุ เชน ปลาฉลามและกระเบน เนื่องจาก และกระเบนที่ไมสามารถระบุชนิดไดอยางชัดเจนจากชิ้นสวนได
        สิ่งแวดลอมที่เสื่อมโทรม รูปแบบการทําประมงที่ไมเหมาะสม รวมถึงความนิยม  ในปจจุบันมีการรายงานการพบปลาฉลามและกระเบนในนานนํ้า
        ในการบริโภคครีบปลาฉลาม ทําใหหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทยไดตระหนัก ของประเทศไทย จํานวน 186 ชนิด แบงเปน ปลาฉลาม 87 ชนิด และ กระเบน
        และใหความสําคัญในเรื่องนี้ พรอมหามาตรการเพื่อชวยกันอนุรักษ รวมทั้ง 99 ชนิด ทั้งนี้ ปลาฉลามและกระเบนสวนใหญอยูในภาวะถูกคุมคามและมี
        งานวิจัยของนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยบูรพาที่ไดรวมกันวิจัยออกแบบพัฒนา ความเสี่ยงตอการสูญพันธุ โดยจากการประเมินของผูเชี่ยวชาญดวยเกณฑของไอ
        คลังขอมูลดีเอ็นเอ เพื่อใชในการจําแนกชนิดจากความหลากหลายทางพันธุกรรม ยูซีเอ็น (International Union of Conservation of Nature, IUCN) พบวา
        นําไปสูการพัฒนาฐานของมูลของประเทศไทยในอนาคต          ปลาฉลาม จํานวน 66 ชนิดจาก 87 ชนิด (รอยละ 60) และกระเบน จํานวน
               ผูชวยศาสตราจารย ดร.วันศุกร เสนานาญ ภาควิชาวาริชศาสตร  71 ชนิดจาก 99 ชนิด (รอยละ 70) มีแนวโนมใกลสูญพันธุ หรือใกลสูญพันธุ
        คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา หัวหนาโครงการวิจัย กลาววา โครงการวิจัยนี้ อยางยิ่ง ซึ่งยังไมรวมชนิดที่ขอมูลไมเพียงพอสําหรับการประเมิน (ประมาณ
        ไดรวมมือกับนักวิจัยจากสถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา  รอยละ 10 – 20)
        คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง   จากผลการศึกษาโครงการวิจัยนี้สามารถพัฒนาฐานขอมูลดีเอ็นเอ
        คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และกรมประมง ในการทําวิจัย ซึ่งจาก ของปลาฉลามและกระเบนที่พบในนานนํ้าของประเทศไทย (ประมาณ 80 ชนิด
        ขอมูลพบวาในกลุมปลาฉลามและกระเบน ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง จาก 186 ชนิด) ซึ่งสามารถใชรวมกับสัณฐานในการสรางความกระจางในการ
        มากกวา 1,100 ชนิดทั่วโลก แตในระยะเวลา 5 ทศวรรษที่ผานมา ไดลดจํานวน จัดจําแนกชนิดในปลาฉลามกบและปลากระเบนธง เปนพื้นฐานสําหรับการ
        ลงอยางรวดเร็วจนถึงจุดวิกฤต และหลายชนิดมีความชุกชุมลดลงมากกวารอยละ  ประเมินสถานะความเสี่ยงของชนิด และไดทราบถึงการแบงกลุมประชากร
        70 จากที่เคยมีในอดีต และเสี่ยงตอการสูญพันธุ เนื่องจากการประมงที่เกินกําลัง ของปลาฉลามที่เปนชนิดเดนของประเทศไทย เชน ปลาฉลามหูดํา ที่มีกระจาย
        การทดแทนของประชากร (Overfishing) การทําประมงอยางไรการควบคุมและ ทั่วทั้งอาวไทยและทะเลอันดามัน ซึ่งจะสามารถใชประกอบกับการวางมาตรการ
        ทําประมงผิดกฎหมาย รวมถึงผลกระทบอื่นจากมนุษยที่ทําใหแหลงที่อยูอาศัยมี ใหเหมาะสมกับสถานที่และวิธีทําการประมงที่อาจแตกตางกันในแตละพื้นที่
        สภาพเสื่อมโทรมลง นอกจากนี้ ความนิยมบริโภคครีบปลาฉลามในภูมิภาคเอเชีย  และชุดตรวจสอบดีเอ็นเอของปลาฉลามที่อยูในบัญชีไซเตสที่จะสามารถตรวจ
        ยังมีสวนสงเสริมใหเกิดการทําประมงปลาฉลามทั่วโลกที่มากเกินไปอีกดวย  สอบการมีหรือไมมี ชนิดปลาฉลามในบัญชีในผลิตภัณฑไดอยางแมนยําและ
               ปจจุบันหลายประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ไดตระหนักถึง รวดเร็ว (ประมาณครึ่งวัน) ซึ่งจะทําใหประเทศไทยสามารถออกแบบมาตรการ
        ปญหาดังกลาว และไดมีการกําหนดมาตรการทางกฎหมายระดับนานาชาติที่วา ควบคุมการคาปลาฉลามระหวางประเทศไดอยางเหมาะสม
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12