Page 8 - จดหมายข่าว วช 149
P. 8

งานวิจัย : สิ่งแวดลอม

                              “กาบหมาก”
                              “กาบหมาก”
                              “กาบหมาก”
                              “กาบหมาก”
                              “กาบหมาก”
                              “กาบหมาก”
                              “กาบหมาก”
                              “กาบหมาก”
                              “กาบหมาก” ของเหลือทิ้งทางการเกษตร ของเหลือทิ้งทางการเกษตร ของเหลือทิ้งทางการเกษตร ของเหลือทิ้งทางการเกษตร ของเหลือทิ้งทางการเกษตร
                            สูผลิตภัณฑรักษ
                            สูผลิตภัณฑรักษ
                            สูผลิตภัณฑรักษ
                            สูผลิตภัณฑรักษ
                            สูผลิตภัณฑรักษ
                            สูผลิตภัณฑรักษ
                            สูผลิตภัณฑรักษโลก ทดแทนโฟม – พลาสติกโลก ทดแทนโฟม – พลาสติกโลก ทดแทนโฟม – พลาสติกโลก ทดแทนโฟม – พลาสติกโลก ทดแทนโฟม – พลาสติกโลก ทดแทนโฟม – พลาสติกโลก ทดแทนโฟม – พลาสติก




               สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร  ทําหมากแหงสวนกาบหมากก็จะทิ้งไวในสวน ทั้งนี้หากนํากาบหมากมาทํา
                                                              ทําหมากแหงสวนกาบหมากก็จะทิ้งไวในสวน ทั้งนี้หากนํากาบหมากมาทํา
        วิจัยและนวัตกรรม ไดŒสนับสนุนทุนอุดหนุนการทํากิจกรรมส‹งเสริมและสนับสนุน ผลิตภัณฑเพื่อจําหนายก็จะเปนการสรางรายไดใหกับชุมชนเพิ่มขึ้น อีกทั้ง
        การทําวิจัยและนวัตกรรม ภายใตŒทุนทŒาทายไทยเพื่อการใชŒประโยชนเชิงชุมชนสังคม ในสภาวะปจจุบันราคาพืชผลทางการเกษตรมีราคาตํ่าลงมาทําใหเกษตรกร
        แก‹โครงการวิจัย เรื่อง “การจัดการความรูŒและถ‹ายทอดเทคโนโลยีการผลิตบรรจุ มีรายไดลดลง
        ภัณฑอาหารจากกาบหมากแทนโฟม” โดยมี ดร.ธวัชไชย ลิ้มสุวรรณ วิทยาลัย  จากปญหาดังกลาว จึงนํากาบหมากมาทําผลิตภัณฑแทนโฟม
        เทคนิคสุราษฎรธานี เปšนหัวหนŒาโครงการวิจัย            โดยเริ่มจากการนํากาบหมากมาตัดแตงใหไดขนาด ลางทําความสะอาดดวย
               ดร.ธวัชไชย ลิ้มสุวรรณ หัวหนาโครงการวิจัย กลาวถึงความสําคัญ นํ้าดางทับทิม และนําไปอัดขึ้นรูปดวยเครื่องผลิตบรรจุภัณฑอาหารจาก
        ของการดําเนินงานโครงการวิจัยวา โลกกําลังเผชิญปญหาวิกฤติจากขยะ กาบหมาก ที่ปรับตั้งคาอุณหภูมิไวที่ 100 องศาเซลเชียส เพื่อฆาเชื้อราและ
        พลาสติกสังเคราะห เชนเดียวกับประเทศไทยที่กําลังมีปญหาขยะทวมเมือง  แบคทีเรีย และการคงรูปทําใหไดรูปทรงตามที่ตองการ จุดเดนของภาชนะ
        โดยเฉพาะขยะจากบรรจุภัณฑ ถุง ภาชนะของใชพลาสติกนานาชนิด ทําให จากกาบหมากทําจากวัสดุธรรมชาติ 100 เปอรเซ็นต ปราศจากสารเคมีและ
        ประเทศไทยมีขยะในทะเลมากเปนอันดับ 6 ของโลก ซึ่งเปนอันตรายตอระบบ การฟอกสี เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ไมแตกหักงาย นํ้าหนักเบา ใสอาหารได
        นิเวศ สัตวทะเล และหวงโซอาหารของมนุษย ซึ่งหากมองไปที่กระแสทั่วโลก ทุกเมนู ใสของเหลวได เขาเตาไมโครเวฟได ไมออนตัว ทนความรอนไดดี
        ก็กําลังใหความสําคัญกับการลดขยะพลาสติกที่กําลังคุกคามสิ่งแวดลอมโลก  มีกลิ่นหอม และสามารถสรางลวดลายที่เปนเอกลักษณเฉพาะ ยอยสลายไดเอง
        ดังที่หลายประเทศไดประกาศยกเลิกการผลิตถุงพลาสติก และอุปกรณ 45 วัน และจากการสํารวจความตองการของลูกคาในประเทศไทยมีความ
        พลาสติกที่ใชครั้งเดียวทิ้ง คณะนักวิจัยจึงไดเริ่มศึกษาความตองการของตลาด ตองการถึง 5 แสนชิ้นตอเดือน แตกําลังการผลิตสามารถผลิตไดเพียงเดือนละ
        ภาชนะที่ยอยสลายไดงาย พบวากําลังเติบโตอยางรวดเร็วทั้งในประเทศและ 5 หมื่นชิ้น แสดงวาความตองการยังมีในปริมาณสูง คณะผูวิจัยไดเล็งเห็น
        ตางประเทศ ซึ่งรัฐบาลหลายประเทศโดยเฉพาะสหภาพยุโรปตางก็สนับสนุน ถึงชองทางสรางรายไดใหกับชุมชน จึงลงพื้นที่นําเทคโนโลยีไปถายทอดองค
        ใหภาคเอกชนขยายการผลิตวัสดุชีวภาพ แทนพลาสติกสังเคราะห คณะ ความรู และนําเครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณเพื่อการผลิตระดับชุมชน
        ผูวิจัยจึงไดเลือกกาบหมาก เนื่องจากจังหวัดสุราษฎรธานีมีการปลูกหมากเปน โดยการพัฒนาเครื่องผลิตบรรจุภัณฑอาหารจากกาบหมาก 2 แบบ คือแบบ
        จํานวนมาก แตสวนใหญจะเก็บเกี่ยวเฉพาะผลหมากมาจําหนาย หรือแปรรูป จานเหลี่ยมขนาด 6 x 7 นิ้ว และแบบถวยขนาดเสนผานศูนยกลาง 6 นิ้ว
                                                              โดยไมตองถอดแมพิมพ ซึ่งผลิตภัณฑไดรับการรับรองจากกรมวิทยาศาสตร
                                                              การแพทยแลว ทั้งนี้ไดมอบใหกลุมวิสาหกิจชุมชนสงเสริมอาชีพเกษตรกร
                                                              ชาวสวนยาง ตําบลทาอุแท อําเภอเมืองกาญจนดิษฐ จังหวัดสุราษฎรธานี
                                                              ไดใชในการประกอบอาชีพ เพื่อผลิตบรรจุภัณฑอาหารจากกาบหมาก ซึ่ง
                                                              เปนวัสดุธรรมชาติที่มีอยูในชุมชนจํานวนมาก นํามาผลิตทดแทนภาชนะที่
                                                              ทําจากโฟมเปนการลดมลภาวะที่จะเกิดกับสิ่งแวดลอม และที่สําคัญคือ
                                                              เปนการสรางรายไดใหกับเกษตรกรและชุมชนอีกทางหนึ่งดวย
                                                                     นอกจากนี้ กลุมวิสาหกิจชุมชนสงเสริมอาชีพเกษตรกรชาว
                                                              สวนยาง ตําบลทาอุแท อําเภอเมืองกาญจนดิษฐ จังหวัดสุราษฎรธานี
                                                              ที่ไดรับเครื่องผลิตบรรจุภัณฑอาหารจากกาบหมากระบบกึ่งอัตโนมัติ ไดนําไป
                                                              ใชประโยชนตามวัตถุประสงคของโครงการ สงเสริมการประกอบอาชีพใหกับ
                                                              เกษตรในชุมชน ตั้งแตการปลูกหมาก การจําหนายกาบหมากสูกระบวนการ
                                                              ผลิต และการผลิตบรรจุภัณฑอาหารจากกาบหมากเพื่อจําหนายเชิงพาณิชย
                                                              เปนการสรางงาน สรางรายได สรางความอยูดีกินดีของสมาชิกกลุม และของ
                                                              พี่นองเกษตรกรตําบลอุแท อําเภอกาญจนดิษฐอยางยั่งยืนตอไป
                                                                     โดยเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2566 ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการ
                                                              สํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดมอบหมายให กลุมสารนิเทศและประชาสัมพันธ
                                                              วช. นําคณะสื่อมวลชนจากสวนกลางไปติดตามผลสําเร็จ  จากโครงการวิจัย
                                                              ดังกลาว เพื่อใหสื่อมวลชนเปนสื่อกลางในการเผยแพรประชาสัมพันธ
                                                              ผลสําเร็จของโครงการวิจัย สูสาธารณชนในวงกวาง
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13