Page 11 - จดหมายข่าว วช 149
P. 11
งานวิจัย : อาหารสุขภาพ
การนํางานวิจัยมายกระดับอาหารพื้นถิ่นจังหวัดพิษณุโลก
การฟนฟูระบบนิเวศทะเลไทยดวยงานวิจัย สูอาหารสุขภาพเพื่อการบําบัดและเชื่อมโยงการทองเที่ยว
ฟนฟูปะการังและแกปญหาปะการังสูญพันธุ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา กับศักยภาพของอาหารพื้นถิ่นที่ผานมา พบวาสวนใหญอาหารพื้นถิ่นจะ
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ไดสนับสนุนทุนวิจัยแกคณะนักวิจัยจาก มีคุณภาพมาตรฐานไมคงที่ มีกรรมวิธีการปรุงบางอยางที่ไมเปนไปตาม
มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยมี ผูชวยศาสตราจารย ดร.วรเดช ณ กรม อาจารย มาตรฐานของอาหารเพื่อสุขภาพหรืออาหารเพื่อการบําบัด ไมมีขอมูลเรื่อง
คณะบริหารธุรกิจเศรษฐศาสตรและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร เปน ของคุณคาทางโภชนาการที่รองรับการเขาสูการเปนอาหารเพื่อสุขภาพในเชิง
หัวหนาโครงการวิจัย ในการเสริมศักยภาพอาหารพื้นถิ่นของจังหวัดพิษณุโลก วิทยาศาสตร ตลอดจนภาพลักษณของอาหารในเชิงความรวมสมัยที่โดนใจ
ใหทรงคุณคาดานโภชนาการ และรสชาติที่ไดมาตรฐาน เพื่อนําไปสูอาหาร และตอบโจทยที่เปนปญหาดานสุขภาพที่ตรงจุดของผูบริโภค (Pain Point)
เพื่อสุขภาพ หรืออาหารเพื่อการบําบัดและเชื่อมโยงถึงการทองเที่ยว โดยการนํา ความยากของโครงการวิจัยนี้ คือการผสมผสานศาสตรของคติชนวิทยา
วัตถุดิบที่มีอยูในพื้นที่ผสมผสานกับภูมิปญญาชาวบานแตดั้งเดิมในการปรุง เพื่อทําการศึกษาพื้นฐาน เรื่องราว ความเชื่อ ทางวัฒนธรรมของอาหารมา
อาหาร โดยนําวัตถุดิบหลักที่เปนจุดเดนของพิษณุโลกมาประกอบอาหารแตละ เปนพื้นฐานในการวิเคราะหคุณคาเชิงโภชนาศาสตร เพื่อใหเห็นคุณคาทาง
เมนู มีการใชหลักทางโภชนาศาสตรเพื่อดูคุณคาอาหารในการประกอบอาหาร วิทยาศาสตรในเชิงประจักษ และการใชความเชี่ยวชาญของ ดร.ยิ่งศักดิ์ฯ
ลดการใชเครื่องปรุงรสที่เปนอันตรายตอสุขภาพเนนคุณคาดานประโยชนของอาหาร เขามาปรับสูตรอาหาร ลดการใชเครื่องปรุงรส ใชองคประกอบของวัตถุดิบ
โดยผานการตรวจสอบของผูเชี่ยวชาญทางดานอาหาร และยกระดับใหเปนผลิตภัณฑ เพื่อพัฒนาใหเกิดเมนูอาหารที่มีความอรอย มีภาพลักษณที่มองดวยสายตา
ของฝากประจําจังหวัดพิษณุโลก สวยงาม รสชาติ และคุณคาของอาหารที่ไดเหมาะสมกับผูที่รักสุขภาพ โดย
ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ประกอบดวย 3 เมนู คือ หอหมกปลาฟาด ปลาเห็ด และบัตเตอรเคกตาล
กลาวถึงการสนับสนุนทุนวิจัยในการเสริมศักยภาพอาหารพื้นถิ่นของจังหวัด ซึ่งสูตรของอาหารดังกลาวมีสัดสวนของคารโบไฮเดรตตอโปรตีนและไขมันที่
พิษณุโลกวา วช. เปนองคกรสําคัญของรัฐในการขับเคลื่อนสนับสนุนงานวิจัย เหมาะสมกับคนในกลุมโรค NCD โดยผลประเมินระดับความพึงพอใจ หรือ
และนวัตกรรมที่เปนประโยชนตอประชาชนและสังคม เสริมสรางคุณภาพ ความชอบของผูบริโภคอยูในระดับที่ดีมาก
ชีวิตและสิ่งแวดลอม สนับสนุนอุตสาหกรรมดานตาง ๆ โดยเฉพาะการ สําหรับแผนพัฒนาตอยอดโครงการวิจัย ไดสรางหวงโซอุปทาน
สงเสริมการทองเที่ยวทั้งในเชิงอนุรักษธรรมชาติ ศิลปะวัฒนธรรม และดาน ยกระดับนิเวศทางธุรกิจอาหารพื้นถิ่น เพื่อการบําบัด ทั้งในระดับครอบครัว
อาหารเพื่อดึงดูดใจนักทองเที่ยว โดยนําจุดเดนทางทรัพยากรธรรมชาติที่มี ชุมชน และผูประกอบการ เพื่อสรางภาพลักษณดานอาหารเชื่อมโยงการ
อยูในพื้นที่มาปรับใชใหเกิดประโยชน ซึ่งจังหวัดพิษณุโลกมีความโดดเดนทาง ทองเที่ยว และการใชเทคโนโลยีเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมดานอาหาร โดย
วัฒนธรรมของอาหาร จึงไดสนับสนุนทุนวิจัยแกคณะนักวิจัยที่มีความรูดาน การจัดโครงการถายทอดการฝกอบรมตั้งแตตนนํ้าถึงปลายนํ้า โดยมีการ
โภชนาการทางดานอาหาร จากมหาวิทยาลัยนเรศวร นําวัตถุดิบที่หาไดงาย จัดอบรมแมบานเกษตรกร 9 อําเภอ ผูประกอบการรานอาหาร 98 ราย
ในพื้นที่นํามาสรางอัตลักษณอาหารพื้นถิ่น ใหสอดคลองกับความตองการของ พัฒนาตอยอดเมนูรานอาหาร 3 ราน ออกรายทีวีและสื่อออนไลนเพื่อ
ผูบริโภค ซึ่งกําลังเปนที่นิยมในกลุมนักทองเที่ยวเชิงอาหารในปจจุบันและมี การรับรู และกระตุนตลาด นําเสนอผลิตภัณฑใหผูวาราชการจังหวัดและ
แนวโนมมากยิ่งขึ้นในอนาคต รองผูวาราชการจังหวัดใหความสนใจผลิตภัณฑ เมี่ยงปลาฟาดและบัตเตอร
ผูชวยศาสตราจารย ดร.วรเดช ณ กรม อาจารยคณะบริหารธุรกิจ เคกตาล ถือเปนผลิตภัณฑของฝากใหมของจังหวัด สําหรับปลายนํ้าเปนการ
เศรษฐศาสตรและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร หัวหนาโครงการวิจัย เชื่องโยงผูประกอบการและการทองเที่ยว โดยมีการนําสินคาไปจําหนายที่
กลาวถึงความสําคัญของการดําเนินโครงการวิจัยวา ไดรวมกับ ดร.ยิ่งศักดิ์ รานในสนามบินบริการนักทองเที่ยว ตลอดจนการจัดบูธและงานเฟสติวัล
จงเลิศเจษฎาวงศ เชฟและอาจารยสอนทําอาหารชั้นนํา พัฒนาสูตรและ ปจจุบันมีผูประกอบการนําสูตรไปพัฒนาตอใหอยูในรูปแบบที่เปนของฝาก
ถายทอดเมนูอาหารพื้นถิ่น จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งจากการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวของ ใหมของจังหวัดพิษณุโลก และเปนเมนูประจําของรานอาหาร
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 11