Page 10 - จดหมายข่าว วช 149
P. 10
งานวิจัย : สิ่งแวดลอม
การฟนฟูระบบนิเวศทะเลไทยดวยงานวิจัย
ฟนฟูปะการังและแกปญหาปะการังสูญพันธุ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
วิจัยและนวัตกรรม ไดใหทุนสนับสนุนการวิจัย แก โครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนา
เทคโนโลยีเพื่อการฟนฟูปะการัง : เทคนิคการทําชิ้นสวนปะการังขนาดเล็กการ
เชื่อมโคโลนีปะการังและการรักษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากร
ปะการัง” โดยมี รองศาสตราจารย ดร.ธรรมศักดิ์ ยีมิน แหง มหาวิทยาลัย
รามคําแหง เปนหัวหนาโครงการวิจัย
รองศาสตราจารย ดร.ธรรมศักดิ์ ยีมิน หัวหนาโครงการวิจัย เกาะคางคาวดานทิศเหนือ เกาะขามนอยดานทิศใต และอาวนวล เกาะลาน
ไดกลาวถึงโครงการวิจัยฯ ไววา นวัตกรรมจากโครงการวิจัยฯ และการรักษา มีความเหมาะสมเปนแหลงพอแมพันธุปะการัง พื้นที่จัดทําแปลงอนุบาล
ความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากรปะการังนั้น เปนกระบวนการ ในแนวปะการัง และพื้นที่ฟนฟูแนวปะการังที่เหมาะสม เนื่องจากพบ
ฟนฟูแนวปะการังโดยมนุษยเขาไปดําเนินการ เพื่อชวยใหระบบนิเวศฟนคืน ปะการังพอแมพันธุทั้ง 4 ชนิด ไดแก ปะการังโขด (Porites lutea) ปะการัง
สูสภาพที่สมบูรณ เชน การยายปลูกปะการังโดยตรง การทําสวนปะการัง ชองเหลี่ยม (Favites abdita) ปะการังกาแล็กซี่ (Galaxea fascicularis)
จึงมีความสําคัญอยางยิ่ง และจําเปนตองมีการพัฒนาเทคนิคและวิธีการฟนฟู ปะการังดาวชองเหลี่ยม (Leptastrea purpurea) และโคโลนีพอแมพันธุ
แนวปะการังดวยเทคโนโลยีใหมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การฟนฟูระบบนิเวศ มีความเหมาะสมสําหรับการนําไปทําเปนชิ้นสวนปะการังขนาดเล็ก ในการ
แนวปะการังจึงเปนประเด็นสําคัญของประเทศ โดยเฉพาะการใชเทคนิคการ ฟนฟูแนวปะการังใหฟนคืนสูระบบนิเวศที่สมบูรณ จากการคนพบดังกลาวจะ
ทําชิ้นสวนปะการังขนาดเล็ก (coral micro-fragmentation) ที่ชวยทําให นําไปสูการสรางแหลงอนุบาลสัตวนํ้าวัยออนที่อยูอาศัยของสัตวนํ้าเศรษฐกิจ
ชิ้นสวนปะการังมีอัตราการเจริญเติบโตสูง เมื่อนําชิ้นสวนปะการังขนาดเล็ก ที่สําคัญ ระบบนิเวศแนวปะการังมีสวนสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
ที่เจริญเติบโตแลวระดับหนึ่งมาเชื่อมตอกัน (coral colony fusion) จะทําให ทั้งดานอุตสาหกรรมการทองเที่ยว และอุตสาหกรรมประมง อันจะนําไปสู
ไดโคโลนีปะการังขนาดใหญที่สามารถจะสรางเซลลสืบพันธุไดเร็วขึ้น และ การสงเสริมการฟนฟูปะการังตามแนวชายฝงและอนุรักษปะการังไทยไดอยาง
มุงเนนการคัดเลือกปะการังพอแมพันธุ เพื่อมาทําเปนชิ้นสวนปะการังขนาดเล็ก มีประสิทธิภาพและยั่งยืนตอไป
โดยมีลักษณะทางพันธุกรรมของปะการังที่มีความทนทานตอความเครียดสูง โดยเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2566 ดร.วิภารัตน ดีออง
และใหความสําคัญกับการรักษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของ ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดมอบหมายให ภารกิจการวิจัย
ประชากรปะการังในพื้นที่ฟนฟูปะการังใหอยูในระดับใกลเคียงกับความหลาก และนวัตกรรมของประเทศดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และ
หลายทางพันธุกรรมของประชากรปะการังในธรรมชาติ และมีบทบาทสําคัญ กลุมสารนิเทศและประชาสัมพันธ พรอมดวย คณะผูทรงคุณวุฒิจาก วช.
ในการสนับสนุนการฟนฟูแนวปะการังที่กําลังเสื่อมโทรมลง โดยเฉพาะภาวะ ประกอบดวย ศาสตราจารย ดร.เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ ดร.พรศรี สุทธนารักษ
คุกคามทั้งจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบจากกิจกรรม ดร.ศิราวุธ กลิ่นบุหงา และสื่อมวลชนลงพื้นที่เกาะสีชัง เพื่อเยี่ยมชมผลสําเร็จ
ของมนุษย ของการดําเนินงานโครงการวิจัยดังกลาว ทั้งนี้ ผูทรงคุณวุฒิ วช. ไดใหขอ
โครงการวิจัยดังกลาวจะมีสวนชวยในการอนุรักษทรัพยากร เสนอแนะเกี่ยวกับโครงการวิจัยในภาพรวมดังกลาววา ควรคํานึงถึงหลัก
ธรรมชาติ โดย นวัตกรรมการฟนฟูแนวปะการัง ดวยเทคนิคการยึดติดชิ้นสวน ความปลอดภัยเปนหลักในเรื่องของวิธีการดําเนินการวิธีเพาะเลี้ยงปะการัง
ปะการังขนาดเล็ก ในการนําปะการังพอแมพันธุที่เตรียมไวสําหรับการทําใน และการกระจายความรูเทคนิควิธีการเพาะเลี้ยงปะการังสูชุมชน ซึ่งผลงาน
สวนปะการังมาเพาะเลี้ยง ซึ่งการยายปลูกชิ้นสวนปะการังในประเทศไทยได วิจัยเปนขอมูลเชิงวิชาการที่จะนําไปสูการสรางโครงสรางเชิงนโยบาย และ
ดําเนินการไปแลวในหลายพื้นที่ จากผลการวิจัยพบวา แนวปะการังบริเวณ การรักษาผลประโยชนทางทะเลของประเทศไทย เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง
และยั่งยืน พรอมนี้ไดรวมกับสื่อมวลชนไดลงพื้นที่ศูนยเรียนรูธนาคารสัตว
ทะเล เกาะสีชัง โดยชุมชน เพื่อชุมชนที่ยั่งยืน ในพระราชูปถัมภฯ เพื่อเยี่ยม
ชมผลการดําเนินงานของโครงการวิจัยฯ ซึ่งผลสําเร็จจากการวิจัยและพัฒนา
นําไปสูการผลักดันใหเกิดการพัฒนาดานทรัพยากรทางทะเล ผานงานวิจัยที่
เกิดจากความรวมมือของทุกภาคสวน และนําไปสูการอนุรักษและการฟนคืน
ระบบนิเวศทะเลไทย สูการอนุรักษปะการังที่ยั่งยืน
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
10 National Research Council of Thailand (NRCT)