Page 4 -
P. 4
โดยมาตรการพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม
ในระยะสั้นที่สามารถด�าเนินงานได้ในทันทีนั้น.ได้แก่.
1). การขยายผลห้องเรียนผู้มีความสามารถพิเศษ
ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
2). การส่งเสริมการเคลื่อนย้ายบุคลากรไปปฏิบัติงาน
ในภาคอุตสาหกรรม.สังคม/ชุมชน.(Real.Sector).
3).การบูรณาการการจัดสรรทุนการศึกษาและการใช้
ประโยชน์จากนักเรียนทุนรัฐบาล.
2).เพิ่มจ�านวนและคุณภาพวิศวกร.นักวิทยาศาสตร์.ช่างเทคนิค
เพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ. 4).การพัฒนาระบบวิเคราะห์ข้อมูลบุคลากรวิจัย
และ.3).เพิ่มจ�านวนและคุณภาพนักบริหารจัดการเทคโนโลยี และนวัตกรรม.ซึ่งส�านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
และนวัตกรรม.เพื่อท�าหน้าที่สนับสนุนการถ่ายทอดเทคโนโลยี หรือ.วช..ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานหลักรับผิดชอบ
และบริหารจัดการนวัตกรรมตลอดห่วงโซ่มูลค่าของภาค ในการจัดท�ามาตรการการพัฒนาระบบวิเคราะห์ข้อมูลบุคลากร
การผลิต.บริการ.สังคมและชุมชน วิจัยและนวัตกรรม
กลยุทธ์ที่ 3 เตรียมความพร้อมเข้าสู่เศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม.เพื่อให้การพัฒนาบุคลากรวิจัยส�าเร็จ
ฐานรากความรู้ในอนาคต.ด้วยการขยายฐานบุคลากรด้าน ตามแผนกลยุทธ์ฯ.ยังคงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของหน่วยงาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.มีมาตรการส�าคัญคือ.1).เพิ่ม ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนา
เยาวชนผู้มีความสามารถพิเศษให้เข้าสู่สายอาชีพวิจัยและ บุคลากรด้านการวิจัยของประเทศ.ตลอดจนการวางกลไก
นวัตกรรมในภาคการผลิต.บริการ.สังคมและชุมชน.2).ส่งเสริม เพิ่มเติมในการให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อร่วมกัน
การใช้ผู้มีความสามารถพิเศษอย่างเต็มศักยภาพ. และ. ขับเคลื่อนการพัฒนาบุคลากรวิจัยให้มีเพียงพอต่อการพัฒนา
3).เพิ่มสัดส่วนผู้เรียนสายวิทยาศาสตร์. เพื่อเป็นตัวป้อน ประเทศ.ตามนโยบายของรัฐบาลที่จะใช้การวิจัยและนวัตกรรม
เข้าสู่สายอาชีพวิทยาศาสตร์.เทคโนโลยี.และนวัตกรรม. ในการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศ.โดยมีความสอดคล้องต่อ
อันเป็นฐานส�าคัญของบุคลากรวิจัยและนวัตกรรมในอนาคต ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อให้เกิดผลลัพธ์มุ่งสู่.Thailand.4.0.ต่อไป.
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
4 National Research Council of Thailand (NRCT)