Page 9 -
P. 9

การควบคุมแมลงวันผลไม้ด้วยเชื้อราโรคแมลง


                                                                  Metarhizium anisopliae





                                                                           ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ
                                                                             ส�านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)



                                                                                 5. การใช้สารล่อ เช่น ใช้สำรเคมีที่
                                                                             ดึงดูดแมลงวันผลไม้เพศผู้เข้ำมำติดใน
                                                                                กับดัก วิธีนี้ท�ำได้ยำกเพรำะว่ำแมลงวัน
                                                                                  ผลไม้จะมีควำมเฉพำะเจำะจงกับ
                 แมลงวันผลไม้                                                      สำรล่อแต่ละชนิด เช่น เมทธิล
          Bactrocera dorsalis                                                       ยูจินอล  (Methyl  Eugenol)
          เป็นแมลงศัตรูพืชที่มีขนำด                                                 ใช้ล่อ B. dorsalis, Bactrocera
          เล็ก ลงท�ำลำยไม้ผลหลำย                                                    umbrosus คิว - ลัวร์ (Cue - Lure)
          ชนิด โดยแมลงวันผลไม้                                                      ใช้ล่อ Bactrocera cucurbitae,
          เพศเมียใช้อวัยวะวำงไข่                                                    Bactrocera tau ลำติ - ลัวร์

          แทงเข้ำไปในผลไม้ ตัวหนอน                                                 (Lati - Lure) ใช้ล่อ Bactrocera
          ที่ฟักจำกไข่จะอำศัยและกินอยู่                                          latifrons เมด - ลัวร์ (Med - Lure)
          ภำยในผลไม้ท�ำให้ผลเน่ำเสียและ                                        ใช้ล่อ Ceratitis capitata เป็นต้น
          ร่วงหล่น  ต่อจำกนั้นตัวหนอนจึง                                           6. การใช้เหยื่อโปรตีน ท�ำได้โดย
          ดีดตัวออกมำเพื่อเข้ำดักแด้ในดินแล้ว                         น�ำเอำยีสต์โปรตีนออโตไลเสท (Protein autolysate)
          จึงออกเป็นตัวเต็มวัย แมลงวันผลไม้ชอบวำงไข่          ผสมกับสำรฆ่ำแมลง (ใช้ยีสต์โปรตีนออโตไลเสท 800 ซีซี
          ในผลไม้ที่ใกล้สุกและมีเปลือกบำง เช่น มะม่วง ฝรั่ง ชมพู่   ผสมสำรฆ่ำแมลง malathion 83 เปอร์เซ็นต์ จ�ำนวน 280 ซีซี
          น้อยหน่า เงาะ ลองกอง ละมุด พุทรา ล�าไย ลิ้นจี่ กระท้อน   ผสมน�้ำ 20 ลิตร พ่นเป็นจุด ๆ)
          กล้วย  มะปราง  มะละกอ  พริก  เป็นต้น ในระยะแรก             7.  การท�าหมันแมลง โดยท�ำกำรเลี้ยงแมลงวันผลไม้

          ที่ลงท�ำลำยจะสังเกตได้ยำกเนื่องจำกวำงไข่ไว้ในผล จะเห็น  แล้วน�ำดักแด้ไปฉำยรังสีแกมมำ จำกนั้นน�ำแมลงวันผลไม้
          อำกำรชัดเจนเมื่อหนอนที่เจริญเติบโตอยู่ใต้เปลือกโตขึ้น   ที่ผ่ำนกำรฉำยรังสีไปปล่อยในธรรมชำติ ข้อเสียของวิธีกำรนี้
          จนท�ำให้ผลเน่ำเละ และมีน�้ำไหลเยิ้มออกมำ นอกจำกนี้    คือเสียค่ำใช้จ่ำยสูงมำก
          ผลไม้ที่ถูกแมลงวันผลไม้ท�ำลำยจะมีโรคและแมลงชนิดอื่น ๆ      8.  การก�าจัดไข่หรือหนอนที่ติดอยู่ในผลไม้ ท�ำได้
          เข้ำท�ำลำยซ�้ำ กำรระบำดของแมลงวันผลไม้พบตลอดทั้งปี   ดังนี้
          เนื่องจำกมีพืชอำหำรหลำกหลำยชนิด กำรป้องกันและก�ำจัด          (1)  กำรรมยำ โดยกำรใช้สำรรม (Fumigant)
          ท�ำได้หลำยวิธี ดังนี้                                        (2)  กำรใช้รังสี ฉำยรังสีที่ผลไม้ด้วยรังสีแกมมำ

                 1.  การท�าความสะอาดบริเวณแปลงเพาะปลูก                 (3)  กำรใช้วิธีกำรอบไอน�้ำร้อน
          ท�ำลำยผลไม้ที่เน่ำเสีย                                     ศัตรูธรรมชำติของแมลงวันผลไม้ มีทั้งตัวห�้ำ ตัวเบียน
                 2.  การห่อผล ควรห่อให้มิดชิดไม่มีรูหรือรอยฉีกขำด  และเชื้อโรค ตัวห�้ำ ได้แก่ มดคันไฟ Pheidologeton
                 3.  การควบคุมโดยชีววิธี ได้แก่ ตัวห�้ำ ตัวเบียน    diversus ตัวเบียน ได้แก่ แตนเบียนหนอน - ดักแด้ Biosteres
          และเชื้อโรค                                         longicaudatus, Biosteres arisanus และเชื้อโรค ได้แก่
                 4.  การฉีดพ่นด้วยสารฆ่าแมลง สำมำรถลดปริมำณ   เชื้อรำโรคแมลง Metarhizium anisopliae
          ประชำกรของแมลงวันผลไม้ได้อย่ำงรวดเร็วและเห็นผลได้ชัด       เชื้อรำโรคแมลง M. anisopliae เป็นเชื้อรำสำเหตุ
          แต่ก่อให้เกิดปัญหำเรื่องสำรพิษตกค้ำงทั้งในผลผลิต และใน   โรคของแมลงที่มีศักยภำพในกำรควบคุมแมลงศัตรูได้
          สิ่งแวดล้อม                                         หลำยชนิด ทั้งแมลงศัตรูพืช แมลงปศุสัตว์ และแมลงสำธำรณสุข


         สำ�นักง�นคณะกรรมก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)                                              (อ่านต่อหน้า 10)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14